Page 16 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 16

ขอ สังเกตจากผลงานกวีนพิ นธ

       ๑. รปู แบบ ในการประกวดบทกวี จำเปน ตอ งมกี ตกิ าเกย่ี วกับรปู แบบหรอื
ฉันทลักษณดวย เพื่อใหอยูในมาตรฐานเดียวกัน บทกวีที่สงมาสวนใหญเปนกลอน
สุภาพ รองลงมาคือกาพยยานี และมีกลอนพื้นบานภาคใตดวย ผูสงผลงานจะ
ใชรปู แบบฉันทลักษณใดก็ได เพียงแตขอใหเปนระบบ เชน จะใชกลอนแปดก็ควร
กลอนแปดทั้งหมด ไมควรใชกลอนแปดบาง กลอนหกบาง ปะปนกัน เพราะผูอาน
จะสับสน ผลงานครั้งนี้ใชฉันทลักษณที่ดี มีระบบชัดเจน แสดงวาศึกษาและฝกฝน
มาดี

       มีขอสังเกตเพียงเล็กนอย คือ วิธีการพิมพ กลอนและกาพยไมเหมือนกัน
กลอนไมตองยอหนาใหมทุกบท จะยอหนาเมื่อขึ้นขอความชุดใหมหรือเมื่อเปลี่ยน
ประเดน็ เทา นนั้ สว นกาพยย านจี ะยอ หนา ทกุ บท การจดั วางรปู แบบการพมิ พส ำหรบั
รอยกรองแตละชนิดก็เปนเรื่องสำคัญที่ควรศึกษาไวดวย

       ๒. เนอื้ หาและแนวคดิ ในการวางโครงรา งการเขยี น ควรใหม อี งคป ระกอบ
ครบถวน ไดแกสวนนำ สวนเนื้อหา และสวนสรุปหรือสวนลงทาย ตามสัดสวน
ที่เหมาะสม เชน กำหนดใหเขียน ๑๕ บท ควรเปนสวนนำประมาณ ๑ - ๒ บท
สว นเนอ้ื หาประมาณ ๑๐ - ๑๒ บท สว นลงทา ยกป็ ระมาณ ๑ - ๒ บท แตม ผี ลงาน
บางชิ้นที่สงมา มีสวนนำที่ยาวเกินไป และบางชิ้นไมมีสวนสรุป เปนตน บางชิ้น
“ความไมเ ดนิ ” คอื เน้ือความไมเ ดนิ หนา ยำ่ เทา อยกู บั ทคี่ อ นขา งนาน ทำใหเ นอ้ื หาไม
ครบถว น ดงั นน้ั ควรมกี ารคน ควา รวบรวมขอ มลู ใหค รบถว นเสยี กอ น แลว เลอื กสรร
ที่เหมาะสม จัดลำดับกอนหลัง แลวจึงรอย และกรอง ใหเปนรอยกรองที่งดงาม

       เหมือนเดินไปในสวนดอกไม เห็นดอกอะไรก็เก็บรวบรวมไว กลับมาบาน
คอยเลือกเฉพาะดอกที่งาม แลวจึงนำมารอยมาลัยหรือจัดใสแจกันใหสวยงาม

       สำหรบั แนวคดิ หรอื ขอ คดิ ในบทกวีก็เปน สว นสำคญั ตอ งการใหผอู า นคดิ
ผูเขียนก็ตองคิดเสียกอน แนวคิดควรชัดเจน นาสนใจ อาจมีความแปลกใหมก็ได
ไมควรใชวิธีบรรยายไปเรื่อยๆ หรือใสแนวคิดเชิงสั่งสอนมากเกินไปจนนาเบื่อ
โดยเฉพาะตอนจบ ควรแสดงแนวคิดที่โดดเดน หรือทาทายใหคนอานคิดตอไป

                       ๘
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21