Page 19 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 19

รองศาสตราจารยนภาลัย สวุ รรณธาดา

ก. รูป

       รูป ในรอยกรองหมายถึงรูปแบบ ฉันทลักษณ หรือแบบแผน
บังคับ รอยกรองไทยมีรปู แบบทั้ง โคลง กาพย กลอน รายลิลิต และกลบท
แตละชนิดยังแยกออกไปอีกหลายชนิด หากนับจำนวนทั้งสิ้นก็มีไมต่ำกวา
๒๐๐ ชนิด เปรียบเทียบกับรอยกรองของชาติอื่นคงจะมีมากที่สุดชาติหนึ่ง
ในโลก

       การ ที่ มี รูป แบบ มากมาย เชน นี้ ก็ เนื่องจาก คน ไทย เปน คน
เจาบทเจากลอน มีความเอาใจใสละเอียดออนในศิลปะการประพันธ
เปนพิเศษ นอกจากที่แตงขึ้นเองแลวยังคิดแปลงรูปแบบคำประพันธ
ของตางชาติใหไพเราะยิ่งขึ้น เชน นำฉันทของสันสกฤตมาดัดแปลง
เพิ่ม บังคับ สัมผัส ให คลองจอง รื่น หูก วา ของ เดิม มี การ คิด บังคับ
พิเศษ ซอนเงื่อน สรางรหัสในคำประพันธประเภทกลบทกลอักษร
ใหมีรูปแบบความพิสดาร และทาทายสติปญญาของผูอานมากขึ้น
ดังตัวอยางกลบทตอไปนี้

       รูปแบบรอยกรองไทย มีแบบแผนบังคับทั้งพยางค สัมผัส คำเอก
คำโท เสียงวรรณยุกต คณะ ฯลฯ ซึ่งแมจะทำใหแตงยาก แตกวีก็สามารถ
แตงไดอยางไพเราะในรูปแบบบังคับเหลานั้น ปจจุบันมีผูพยายามหลีก
เลี่ยงรปู แบบเหลานั้น ดวยเห็นวาเปนการตีกรอบความคิด ทำใหขาดอิสระ
เสรีภาพในการเขียน แตรปู แบบใหมก็คือรปู แบบหนึ่งซึ่งเกิดขึ้นใหมนั่นเอง
หากผูเขียนสลัดรูปแบบรอยกรองทั้งหมดทิ้ง คือไมมีสัมผัส ไมกำหนด
จำนวนคำ ไมบังคับจังหวะและเสียง ฯลฯ ก็จะกลายเปนรอยแกว ซึ่งก็เปน
รูปแบบหนึ่งของการเขียนเชนเดียวกัน รปู แบบจึงมิใชขอจำกัดทางการคัด
หรือการเขียน แตรูปแบบอันงดงามจะชวยใหถอยคำงดงามไปดวย เชน
เดียวกับภาชนะที่สวยงามยอมทำใหอาหารในจานนารับประทานยิ่งขึ้น

                   ๑๑
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24