Page 23 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 23

รองศาสตราจารยนภาลัย สวุ รรณธาดา

          ๒) อุปลักษณ (metaphor) เปนการกลาวเปรียบเทียบอีกวิธีหนึ่ง
แตไมเปรียบตรงๆ ใชวิธีกลาวเปนนัยๆ ใหเขาใจเอาเอง เชน

ชาวนากับงเู หา ขี่ชางจับตั๊กแตน ตำน้ำพริกละลายแมน้ำ
เหงื่อกูที่สูกิน จึงกอเกิดมาเปนคน (จิตร ภมู ิศักดิ์)

ตกเหวรักจะดิ้นรนไปจนตาย (นายมี)

          ๓) อธิพจน (hyperbole) และอนุพจน (under-statement) อธิพจน
เปนการกลาวเปรียบเทียบอยางเกินจริง ตรงขามกับ อนพุ จน ซึ่งเปนการกลาว
นอยกวาความจริง สวนใหญกวีจะใชอธิพจนมากกวาอนุพจน

อธิพจน ตัวอยางเชน

เรียมร่ำน้ำเนตรถวม                 ถึงพรหม (ศรีปราชญ)

ครืนครืนใชฟารอง                  เรียมครวญ (พระเยาวราชเชียงใหม)

ถนัดดั่งไมรอยออม                 ทาวทาวทับทรวง (ลิลิตพระลอ)

อนุพจน ตัวอยางเชน

   เสียไฟเปาหิ่งหอย               แรงปูนี้รูนอย
เผือไปรูเลยนอ                     (ลิลิตพระลอ)

๔) ปฏิพจน (paradox) เปนการเปรียบเทียบสิ่งที่ตรงขามกัน หรือ

ขัดแยงกัน เชน

                 รักยาวใหบั่น      รักสั้นใหตอ (สุภาษิตโบราณ)

เมื่อแรกเชื่อวาเนื้อทับทิมแท      มาแปรเปนพลอยหุงไปเสียได
                                         (ขุนชางขุนแผน)

                                ๑๕
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28