Page 26 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 26

เขยี นรอ ยกรองอยางไรใหไ พเราะ

     รอนรอน สุริยะโอ                อัสดง
เรื่อยเรื่อย ลับเมรุลง                ค่ำแลว
รอนรอน จิตจำนง                        นุชพี่ เพียงแม
เรื่อยเรื่อย เรียมคอยแกว             คลับคลายเรียมเหลียว

                                                  (เจาฟาธรรมธิเบศร)

       คำที่เพิ่มสัมผัสใน เชนคำวา โอ – อัส, ลง – แลว, นง – นุช และ
เลนคำวา เรื่อยเรื่อย – รอนรอน ซึ่งเปนคำสัมผัสพยัญชนะคือ ร ทั้งหมด
ซงึ่ นอกจากจะไดเ สยี งสมั ผสั แลว ยงั เปน เสยี งทแี่ สดงลกั ษณะอารมณเ ชน นนั้
คำวา รอนรอน ทำใหเ หน็ ภาพดวงอาทติ ยใ กลจ ะตกเหมอื นหวั ใจทรี่ อนรอน
เรื่อยเรื่อย แสดงอาการดวงอาทิตยที่ลับลงชาๆ เชนเดียวกับการรอคอยที่
ยาวนานดังนี้ เปนตน

       ๒. เสยี งวรรณยกุ ต
          ดนตรมี เี สยี งโนต สงู ตำ่ รอ ยกรองไทยกม็ เี สยี งวรรณยกุ ต ทำให

ลลี ารอ ยกรองไทยคลา ยลลี าของดนตรี ในคำประพนั ธไ ทยมกี ารบงั คบั เสยี ง
วรรณยุกตโดยใชคำเอกคำโทในโคลง สวนคำประพันธอื่นแมมิไดกำหนด
แนนอน ก็กำหนดใชตามความนิยมเทาที่เห็นวาไพเราะ เชน กลอนสุภาพ
นิยมลงทายวรรคแรกดวย เสียงเตน คือเสียงอื่นๆ ที่มิใชเสียงสามัญเพื่อ
ใหว รรคขึ้นตนมเี สียงนาฟง สวนวรรคสุดทายนิยมเสียงสามัญเปนการทอด
เสียงเมื่อจบบท

          นอกจากนี้ กวียังนำประโยชนของเสียงวรรณยุกตมาใชลอ
ไลกัน ทำใหไพเราะและสนุกสนานยิ่งขึ้น ตัวอยางเชน กลบทตรีประดับ
บทหนึ่งวา

                                  ๑๘
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31