Page 22 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 22

เขยี นรอยกรองอยา งไรใหไพเราะ

  ค. พจน

           พจน ในที่นี้หมายถึงการใชถอยคำสำนวนหรือการใชภาษาใน
   รอยกรอง ซึ่งไดแก เรื่องการใชโวหาร การใชสัญลักษณ และการสราง
   ชีวิตใหแกสิ่งไมมีชีวิต ดังจะกลาวตอไปนี้

           ๑. การใชโ วหาร
             โวหาร หมายถึง “ชั้นเชิงหรือสำนวนแตงหนังสือหรือพูด

   ถอยคำที่เลนเปนสำบัดสำนวน” โวหารในรอยกรองอาจจำแนกประเภท
   ไดเชนเดียวกับรอยแกว คือ อุปมาโวหาร บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร
   เทศนาโวหาร และสาธกโวหาร ในที่นี้จะกลาวถึงเฉพาะอุปมาโวหาร ซึ่งใช
   มากในรอยกรองและเปนเรื่องคอนขางละเอียดกวาโวหารประเภทอื่น

             อุปมาโวหาร คือถอยคำสำนวนที่ใชกลาวเปรียบเทียบ การ
   เปรียบเทียบนี้มีทั้งอุปมา อุปไมย อุปลักษณ และบุคลาธิษฐาน

             ๑) อุปมา - อุปไมย (simile) คือการเปรียบเทียบของสองสิ่งทั้ง
   ในดานความเหมือนหรือความแตกตาง อุปไมย คือ เนื้อความที่ตองการ
   กลาว อุปมา คือสิ่งที่นำมากลาวเปรียบ มักใชคำเชื่อมระหวางอุปไมยและ
   อุปมาวา ดัง กล เชน เหมือน เปรียบ ดุจ เพียง ฯลฯ ตัวอยางเชน

               แลววาอนิจจาความรัก เพิ่งประจักษดังสายน้ำไหล
                     (ความรัก - อุปไมย สายน้ำไหล - อุปมา)

               อันรอยรสบุปผาสุมาลัย จะชื่นใจเหมือนสตรีไมมีเลย
                    (บุปผาสุมาลัย - อุปมา สตรี - อุปไมย)

               ทรวดทรงสงศรีไมมีแมน อรชรออนแอนประหนึ่งเหลา

                  (ทรวดทรงอรชร - อุปไมย เหลา - อุปมา)

                      ๑๔
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27