Page 27 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 27

รองศาสตราจารยน ภาลัย สวุ รรณธาดา

ชะลอลอลอโลกใหโศกโทรม                   อมรแมนแมนแมนเจางามโฉม
                                          แตเลาเลาเลาโลมฤดีแด

                                                (จารึกวัดพระเชตุพน)

       ๓. เสียงธรรมชาติ
          กวีนิยมใชเสียงของคำเลียนเสียงธรรมชาติ ทำใหรูสึกวา

ธรรมชาตินั้นมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น สุนทรภูเปนกวีที่ใชเสียงประเภทนี้ไดดียิ่ง
ตัวอยางเชน

    เห็นน้ำวิ่งกลิ้งเชี่ยวเปนเกลียวกลอก  กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
บางพลุงพลุงวุงวงเหมือนกงเกวียน        ดเู ปลย่ี นเปลย่ี นควา งควา งเปน หวา งวน

    เวทนาวานรออนนอยนอย                       (นิราศภเู ขาทอง)

    ตอยตะริดติ๊ดตี่เจาพี่เอย           กระจอยรอยกระจิ๊ดริดจิ๊ดจิ๊ดจิ๋ว
แออีออยสรอยฟาสุมาลัย                        (นิราศเมืองเพชร)

                                          จะละเลยเรรอนไปนอนไหน
                                          แมนเด็ดไดแลวไมรางไปหางเชย

                                                (พระอภัยมณี)

       นอกจากนี้ยังมีเสียงหนักเบา (ครุลหุ) ซึ่งใชในฉันท และการเลน
เสียงหรือเลนคำที่คลายกันเชน

     นางนวลนึกนิ่มนอง                   นวลปราง
จากพรากพรากจากนาง                         หนึ่งนั้น
พิราบพิลาปคราง                            ครวญแขง ขาฤๅ
บัววาบัวนุชปน                          อกนองเรียมถนอม

                                                (ลิลิตตะเลงพาย)

                         ๑๙
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32