Page 24 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 24

เขยี นรอยกรองอยางไรใหไ พเราะ

อยูปราสาทเสาคอดยอดดวน              กำแพงแกวแลวลวนดวยเรียวหนาม
                                          (ระเดนลันได)

          ๕) นามนยั (metonymy) เปน การใชค ำเรยี กชอื่ บคุ คลโดยเปรยี บ
กับสิ่งอื่น เชน เรียกผูหญิงวา ดวงใจ จอมขวัญ เรียกกษัตริยวา เจาชีวิต
พระผานฟา หรือเรียกอกของผูหญิงวา บัว เชน

   บัวบก ณ อกอร                      อรชรชออนองค
บัวน้ำบจำนง                         ผิวจับก็กลับวาง

                                          (พระนลคำฉันท)

       ๒. การใชส ญั ลักษณ
          นักวรรณคดีบางทานรวมเรื่องสัญลักษณไวในอุปมาโวหาร

โดยถือวาเปนเรื่องของการเปรียบเทียบ แตในที่นี้ไดแยกไวเพราะเปนเรื่อง
ลึกซึ้งกวาการเปรียบเทียบธรรมดา คำที่เปนสัญลักษณคำเดียว อาจมี
ความหมายกวางไกลที่ตองใชเวลานานในการอธิบายดวยคำพูดธรรมดา
สัญลักษณที่เปนสากล เปนเรื่องที่เขาใจไดทั่วไป เชน ดอกกุหลาบสีแดง
หมายถึง ความรัก ความสดชื่น สวนสัญลักษณที่ใชเฉพาะตัวของกวีหรือ
เฉพาะในบทกวีบางบทนั้นอาจเปนเรื่องเขาใจยาก บางทีก็ตองศึกษาลึกลง
ไปถึงภูมิหลังของผูเขียนอีกจึงจะเขาใจ ตัวอยางการใชสัญลักษณ เชน

นกขมิ้นเหลืองออนจะนอนไหน (เนาวรัตน พงษไพบลู ย)

   โลกนี้มิอยูดวย              มณี เดียวนา
ทรายและสิ่งอื่นมี                สวนสราง (อังคาร กัลยาณพงศ)

   ภุมรีคลึงคูเคลา             กลางกมลยันเยา
ยั่วรองเอาใจ                      (ลิลิตพระลอ)

                                 ๑๖
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29