Page 20 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 20
เขยี นรอยกรองอยา งไรใหไ พเราะ
ข. รส รส ในที่นี้ คือรสวรรณคดีอันกอใหเกิดสุนทรียภาพทางอารมณ
รสวรรณคดีนี้ตามตำราของหลวงธรรมาภิมณฑ (ถึก จิตรกถึก) กลาวถึง
รสของกลอนวามีดังนี้
เสาวรจนี รสแหงความงาม
นารีปราโมทย รสแหงความรัก
พิโรธวาทัง รสแหงความโกรธเคืองขุนของใจ
สัลลาปงคพิไสย รสแหงความโศกเศรา
ในตำราสันสกฤตมี ๙ รส คือ รสแหงอารมณในการแสดงละคร
ซึ่งไทยนำมาใชก บั วรรณคดี เชน ความกรณุ า ความกลวั ความสงบ เปน ตน
(รายละเอยี ดมใี นเอกสารการสอนหนว ยท่ี ๓ ชดุ วชิ าภาษาไทย ๔ ของ มสธ.)
โดยที่วรรณคดีไทยมีวรรณคดีรอยกรองเปนจำนวนมาก รส
ดงั กลา วจงึ มกั ปรากฏในรอ ยกรอง และรอ ยกรองมกั ทำใหผ อู า นเกดิ อารมณ
สะเทือนใจไดงายกวารอยแกว ทำใหผูอานเกิดจินตนาการ มีจิตใจละเอียด
ออน มองเห็นความงามในชีวิต หากใชคำพูดธรรมดาผูอานผูฟงอาจเขาใจ
แตไมซาบซึ้ง เหมือนรับประทานเพียงใหอิ่มทอง แตรอยกรองอันไพเราะ
จะทำใหผูเสพไดรับรสอาหารใจ ซึ่งเปนคุณคาอยางหนึ่งของชีวิต
ลองอานคำประพันธตอไปนี้
(๑) นิจจาเจาวันทองนองพี่ยา พี่จำหนาเนื้อนองไดทุกแหง
นิจจาใจชางกระไรมาแปลกแปลง เอามอื คลำแลว ยงั แคลงอยคู ลบั คลา ย
เจาลืมนอนซอนพุมกระทุมต่ำ เด็ดใบบอนชอนน้ำที่ไรฝาย
พี่เคี้ยวหมากเจาอยากพี่ยังคาย แขนซายคอดแลวเพราะหนุนนอน
(ขุนชางขุนแผน)
๑๒