Page 25 - เมื่อวัยใสเขียนเรื่องภูมิปัญญาไทย
P. 25
รองศาสตราจารยนภาลัย สวุ รรณธาดา
๓. บคุ ลาธษิ ฐาน (personification)
คือการใหชีวิตแกสิ่งที่ไมมีชีวิต เชน พรรณนาธรรมชาติเหมือน
เปน มนษุ ย หรอื ทำใหส ง่ิ ทเี่ ปน นามธรรมกลายเปน รปู ธรรม สามารถมองเหน็
อาการเคลื่อนไหวไดทำใหบทกวีนั้นมีชีวิตชีวา สรางอารมณสะเทือนใจแก
ผูอานมากขึ้น ตัวอยางเชน
เสียงซากอิฐปนู สะอื้น วังเวงพื้นเวียงไทยไหว
(อังคาร กัลยาณพงศ)
น้ำคางพรมพร่ำฉ่ำไป ทั่วในพระธรณี
โอถวิลเทวษทวี แมพระธรณีกันแสงครวญ
(เพลงธรณีกันแสง)
ง. เสยี ง
การแตงรอยกรองนั้นมิใชมุงความไพเราะแกผูอานเทานั้น ยัง
ตองคำนึงถึงความไพเราะแกผูฟงดวย นั่นคือจะตองมีเสียงสัมผัส เสียง
วรรณยุกต และมีการเลียนเสียงธรรมชาติ เปนตน โดยเฉพาะภาษาที่มี
วรรณยกุ ตแ ละมเี สยี งสนั้ เสยี งยาวเชน ภาษาไทยเปน ภาษาทไี่ ดเ ปรยี บในการ
แตงรอยกรองเปนอยางยิ่ง กวีไทยไดหยิบยกความไดเปรียบนี้มาใชอยางมี
ศลิ ปะ ทำใหร อ ยกรองไทยมลี กั ษณะเดน ในเรื่องเสยี ง ซึ่งยากทจี่ ะแปลหรอื
ถายทอดเปนภาษาอื่นไดอยางครบถวน เสียงในรอยกรองไทยมีดังตอไปนี้
๑. เสยี งสมั ผสั
รูปแบบคำประพันธไทย นอกจากจะมีสัมผัสนอกแลว ยังมี
สัมผัสในเพื่อใหรื่นหูยิ่งขึ้น สัมผัสในมีทั้งสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ
และมีการเพิ่มสัมผัสพิเศษใหไพเราะยิ่งขึ้น ตัวอยางเชน
๑๗