Page 121 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 121
การพัฒนาโปรแกรมการปรกึ ษา 7-11
5.1 การป ระเมินการให้การป รึกษาร ะหว่างก ารให้การป รึกษา (Formative Evaluation)
5.2 การป ระเมินการให้การป รึกษาหลังก ารให้การปรึกษา (Summative Evaluation)
กลา่ วโดยส รุป การป ระเมนิ ก ารให้การป รึกษาท ั้งร ะหวา่ งก ารใหก้ ารป รกึ ษาแ ละห ลังก ารใหก้ ารป รึกษา
มีความสำคัญและมีความจำเป็นที่จะพัฒนาโปรแกรมการปรึกษาที่ได้พัฒนาขึ้นนั้นให้ดียิ่งขึ้น และมีคุณค่า
มากย ิ่งขึ้น
นอกจากน ี้ เลวิส และเลวิส (Lewis and Lewis, 1991) ได้เสนอว ิสัยทัศน์เกี่ยวก ับการว างแผนการ
พัฒนาโปรแกรมก ารป รึกษา โดยมีล ำดับขั้นต อน ดังนี้
ขั้นตอนท ี่ 1 การประเมินความต ้องการ (Needs Assessment)
ขั้นตอนท ี่ 2 การก ำหนดเป้าห มายและวัตถุประสงค์ (Definition of Goals and Objectives)
ขั้นตอนท ี่ 3 การร ะบุว ิธีก ารต ่างๆ (Methods) ให้สอดคล้องกับเป้าห มาย
ขั้นตอนที่ 4 การตัดสินตกลงใจ (Decision Making) ว่าวิธีการใดที่ได้ระบุไว้ในขั้นตอนที่ 3 จะ
เหมาะสมที่สุด
ขั้นต อนท ี่ 5 การวางแผนเพื่อพ ัฒนาโปรแกรมก ารป รึกษา รวมทั้งประเมินโปรแกรมก ารป รึกษาท ี่ได้
พัฒนาข ึ้น
กล่าวโดยสรุป หลักก ารพ ัฒนาโปรแกรมก ารป รึกษา มีดังนี้ 1) การประเมินค วามต ้องการของก ลุ่ม
ประชากรเปา้ ห มายท ีม่ าร บั บ รกิ ารป รกึ ษา 2) การว เิ คราะหข์ อ้ มลู แ ละก ารแ ปลค วามห มายข องค วามต อ้ งการข อง
กลุ่มป ระชากรเปา้ ห มาย 3) การร ะบเุปา้ ห มายแ ละว ัตถุประสงคข์ องก ารพ ฒั นาโปรแกรมก ารป รกึ ษา 4) การร ะบุ
กระบวนการเพื่อให้บ รรลุเป้าห มายของโปรแกรมก ารป รึกษา และ 5) การป ระเมินโปรแกรมการป รึกษา
หลงั จากศ ึกษาเน้อื หาสาระเร่ืองท่ี 7.2.1 แลว้ โปรดปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 7.2.1
ในแนวก ารศึกษาห น่วยท่ี 7 ตอนท ี่ 7.2 เรือ่ งท ี่ 7.2.1
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช