Page 269 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 269
การต ิดตามควบคุม 6-41
เรอื่ งท ี่ 6.3.1
การว เิ คราะห์จ ุดคุ้มทนุ
การว ิเคราะห์จ ุดค ุ้มท ุน เป็นเครื่องม ือท ีส่ ามารถน ำม าใช้ท ั้งในด ้านก ารว างแผนแ ละก ารต ิดตามค วบคุมในด ้าน
ของการวางแผนนั้น การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจะเป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ คือ
ค่าใช้จ่ายในการผลิต ปริมาณของสินค้าและราคาขายของสินค้าที่มีผลกระทบต่อกำไรของกิจการ โดยการวิเคราะห์
ตัวแปรต ่างๆ ว่ามีค วามสัมพันธ์ก ันแ ละกันแ ละมีค วามส ัมพันธ์กับกำไรของก ิจการอ ย่างไร ก็จะสามารถว างแผนกำไร
ของกิจการได้โดยการเปลี่ยนแปลงตัวแปรเหล่านั้นให้สอดคล้องกันกับกำไรที่กำหนดหรือที่ต้องการ การวิเคราะห์
จุดค ุ้มท ุนน ั้นจ ะทำให้เราทราบได้ว ่า ถ้าเราต้องการที่จ ะม ีกำไรเพิ่มขึ้น โดยคงไว้ซ ึ่งค่าใช้จ่ายและราคาข ายเท่าเดิม เรา
ก็จะต้องพยายามขายให้ได้ปริมาณสินค้าที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนซึ่งสามารถคำนวณหาได้แน่นอน ดังนี้เป็นต้น สำหรับ
ในด ้านข องก ารต ิดตามค วบคุมน ั้น การว ิเคราะห์จ ุดค ุ้มท ุนจ ะเป็นเครื่องม ือในก ารช ่วยช ี้บ อกให้เราท ราบว ่า จะต ้องเน้น
การต ิดตามค วบคุมท ี่ต ัวแปรต ัวไหน ค่าใช้จ ่ายในก ารผ ลิตห รือป ริมาณข องส ินค้าห รือร าคาข ายเพื่อก ารต ิดตามค วบคุม
ให้การด ำเนินง านเป็นไปต ามว ัตถุประสงค์ข องอ งค์การ ยกต ัวอย่างเช่น เราท ราบว ่า ณ จุดค ุ้มท ุน ซึ่งห มายถ ึง จุดท ี่ไม่มี
กำไร หรือจ ุดท รี่ ายไดเ้ท่ากบั ร ายจ ่าย หรอื จ ดุ ท กี่ ำไรเท่ากับศ นู ยน์ ั้น องคก์ ารจ ะต อ้ งข ายส ินค้าใหไ้ดป้ รมิ าณ 1,000 หนว่ ย
ในร าคาห น่วยล ะ 5 บาท ถ้าแนวโน้มได้แ สดงให้เห็นว่า ปริมาณของส ินค้าที่จ ะข ายได้จะไม่ถึง 1,000 หน่วย เราก็จ ะต้อง
หันม าป รับต ัวแปรต ัวอ ื่นๆ ใหเ้พิ่มข ึ้นห รือล ดล ง เช่น พยายามล ดค ่าใชจ้ ่ายในก ารผ ลิตห รือเพิ่มร าคาข าย เป็นต้น จะเห็น
ได้ว ่า เทคนิคข องก ารวิเคราะห์จุดค ุ้มท ุนน ี้ จะช ่วยบ อกให้ทราบถึงค วามสัมพันธ์ของป ริมาณข าย ค่าใช้จ่าย และร าคา
ขายที่มีผลกระทบต่อกำไร และจะให้แนวทางแก่ผู้บริหารในการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการติดตามควบคุมงานให้เป็นไป
ตามว ัตถุประสงค์ได้เป็นอย่างดี
อย่างไรก ด็ ี มขี ้อจ ำกัดเกี่ยวก ับก ารใชก้ ารว ิเคราะหจ์ ุดค ุ้มท ุนเป็นเครื่องม ือในก ารว างแผนแ ละต ิดตามค วบคุม
ที่เห็นได้ชัดก็คือ เครื่องมือดังกล่าวเหมาะสำหรับที่จะใช้กับสภาวการณ์ที่คงที่และในระยะเวลาอันสั้นเท่านั้น และไม่
เหมาะท ี่จ ะใช้เป็นเครื่องม ือในก ารต ิดตามค วบคุมส ำหรับอ งค์การท ี่ส ภาวะแ วดล้อมท ี่ม ีล ักษณะเปลี่ยนแปลงอ ยู่ต ลอด
เวลา และอ งคก์ ารท จี่ ะต อ้ งท ำการว างแผนแ ละก ารต ดิ ตามค วบคมุ ซ ึง่ ม ขี อบเขตร ะยะเวลาท ยี่ าวนาน ทัง้ นเี้ พราะค า่ ใชจ้ า่ ย
คงที่ (Fixed Cost) ซึ่งถ ือวา่ เปน็ ค า่ ใชจ้ า่ ยท ไี่ มเ่ปลี่ยนแปลงไปต ามป ริมาณท ีเ่พิ่มข ึ้นห รือล ดล งน ัน้ ในร ะยะเวลาย าวแ ลว้
จะไมอ่ ยูค่ งท เี่ หมอื นท ตี่ ัง้ ส มมตฐิ านไว้ แตอ่ าจจ ะก ลบั ก ลายเปน็ ค า่ ใชจ้ า่ ยผ นั แปรห รอื ค า่ ใชจ้ า่ ยท เี่ ปลีย่ นแปลงไปจ ากเดมิ
ได้ ความย ุ่งยากของเทคนิคการวิเคราะห์จุดค ุ้มทุนอีกประการห นึ่งก ็คือ จุดคุ้มท ุนจะไม่ใช่จุดที่แน่นอนต ายตัว แต่จะ
เปลี่ยนไปต ามส ภาพก ารต ัดสินใจข องผ ูบ้ ริหารแ ละต ามส ภาวะก ารเปลี่ยนแปลงข องต ัวแปรต ่างๆ เช่น การเปลี่ยนแปลง
ของปริมาณ การเปลี่ยนแปลงข องราคาขาย การเปลี่ยนแปลงข องค ่าใช้จ่ายคงที่ และค ่าใช้จ ่ายผ ันแปร เป็นต้น
การวิเคราะห์จุดค ุ้มท ุน สามารถทำได้ห ลายวิธี ทั้งวิธีใช้สูตรค ำนวณ วิธีก ราฟ และวิธีใช้ตารางค ำนวณ ในท ี่นี่
จะนำเสนอเพียง 2 วิธีแ รกเท่านั้น
การว ิเคราะห์จ ุดค้มุ ท ุนโดยวธิ กี ราฟ
การวิเคราะห์จุดค ุ้มทุนโดยวิธีก ารของการใช้กราฟแ สดงความสัมพันธ์ระหว่างป ริมาณค ่าใช้จ่ายแ ละผลกำไร
แสดงไว้ด ังภ าพท ี่ 6.8
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช