Page 274 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 274

6-46 องค์การ​และ​การ​จัดการ​และก​ ารจ​ ัดการ​ทรัพยากร​มนุษย์

       จาก​ภาพ​ที่ 6.9 สามารถ​อธิบาย​ได้ว​ ่า มี​การนำ​เอา​ค่า​ใช้​จ่าย​ที่​เกี่ยวข้อง​กับส​ ินค้า​คง​เหลือ​มา​พล็อ​ตล​งบน​แกน​
ที่​แสดง​ค่า​ใช้​จ่าย​และ​แกน​ที่​แสดง​ปริมาณ เส้น​กราฟ​ที่​แสดง​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​เก็บ​รักษา​ต่อ​ปี​จะ​เริ่ม​จาก​จุด​ศูนย์ (0) ก็​
เพราะว​ ่าเ​มื่อไ​ม่มีก​ ารเ​ก็บร​ ักษาส​ ินค้าค​ งเ​หลือไ​ว้ก​ ็​จะไ​ม่มีค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายช​ นิดน​ ี้​เกิดข​ ึ้น และค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายช​ นิดน​ ี้จ​ ะเ​พิ่มข​ ึ้นเ​รื่อยๆ
เมื่อป​ ริมาณส​ ินค้าค​ งเ​หลือม​ เี​พิ่มข​ ึ้น ส่วนเ​ส้นก​ ราฟท​ ีแ่​ สดงค​ ่าใ​ชจ้​ ่ายใ​นก​ ารส​ ั่งซ​ ื้อจ​ ะล​ ดล​ งเ​มื่อม​ กี​ ารส​ ั่งซ​ ื้อส​ ินค้าค​ งเ​หลือ​
เป็นป​ ริมาณค​ รั้งล​ ะเ​พิ่มข​ ึ้นเ​รื่อยๆ เส้นค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายท​ ั้งหมดค​ ือเ​ส้นท​ ี่ไ​ด้จ​ ากก​ ารร​ วมข​ องค​ ่าใ​ช้จ​ ่ายท​ ั้งส​ องช​ นิดน​ ี้เ​ข้าด​ ้วยก​ ัน
ด้วย​วิธีน​ ี้ก​ ็จ​ ะ​สามารถห​ าจ​ ุด EOQ ได้ จะเ​ห็น​ได้​ว่าจ​ ุด​ที่​ปริมาณก​ าร​สั่งซ​ ื้อ​ที่ป​ ระหยัดท​ ี่สุด (EOQ) นั้น จะเ​ป็นจ​ ุดท​ ี่ม​ ี​
ค่าใ​ชจ้​ ่ายท​ ั้งหมดต​ ่ำท​ ี่สุด และข​ ณะเ​ดียวกันก​ เ็​ป็นจ​ ุดท​ ีค่​ ่าใ​ช้จ​ ่ายท​ ั้งส​ องช​ นิดไ​ด้ด​ ุลก​ ัน (เท่าก​ ัน) พอดี (จุด EOQ ในภ​ าพ)
ซึ่ง​ถ้า​เราส​ ั่ง​ซื้อส​ ินค้าค​ งเ​หลือ​ต่อ​ครั้ง​เป็น​ปริมาณ​ที่มาก​ ก​ว่าที่​คำนวณ​ได้ ณ จุด EOQ ค่า​ใช้จ​ ่ายท​ ั้งหมด​ของ​องค์การ​ก​็
จะ​สูงข​ ึ้น ในข​ ณะ​เดียวกัน ถ้าเ​รา​สั่งซ​ ื้อส​ ินค้า​คงเ​หลือ​เป็นป​ ริมาณ​ต่อ​ครั้งน​ ้อย​กว่า​ปริมาณ​ที่ค​ ำนวณห​ าไ​ด้ ณ จุด EOQ
ค่า​ใช้​จ่าย​ทั้งหมด​ก็​จะ​ยัง​คง​สูง​ขึ้น​เช่น​กัน อย่างไร​ก็​ดี ใน​การ​ใช้​เทคนิค​นี้​ให้​ตระหนัก​ถึง​ข้อ​สมมติฐาน​ของ​เทคนิค​นี้​
ด้วยว​ ่า​จะ​ต้องม​ ีข​ ้อส​ มมติฐานด​ ังนี้ คือ

       1. 	 ความ​ต้องการ​ใน​การ​ใช้​สินค้า​คง​เหลือ​ของ​ลูกค้า​จะ​ต้อง​เป็น​ไป​ใน​อัตรา​ที่​คงที่​และ​ผู้​บริหาร​จะ​ต้อง​ทราบ​
ก่อน​ล่วง​หน้า

       2. 	 จะต​ ้อง​รู้ร​ ะยะ​เวลา​ที่จ​ ะ​ต้องใ​ช้ใ​น​การ​จัด​ทำ​คำส​ ั่งซ​ ื้อ​จนถึงเ​วลาท​ ี่​จะไ​ด้​รับข​ อง​มาว​ ่าใ​ช้​เวลา​นานเ​ท่าใด

วธิ ก​ี าร​คำนวณโ​ดย​สมการ

       สำหรับ​วิธีก​ าร​คำนวณโ​ดย​ใช้​สมการ​นั้น​ก็​อาจค​ ำนวณ​จากส​ มการ ดังนี้​คือ

   EOQ =                                                      2RS
                                                               C
	

   โดย 	EOQ	 = 		ปริมาณ​ที่​จะ​ต้อง​สั่ง​ซื้อ​ต่อ​ครั้ง​ที่​ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​มาก​ที่สุด (หรือ​ปริมาณ​สั่ง​ซื้อ​ต่อครั้ง​ที่​

   ค่า​ใช้​จ่าย​ทั้งหมด​จะ​มี​ค่า​ต่ำท​ ี่สุด)

   	 R	 = 		 ปริมาณ​ที่ต​ ้องการ​ใช้​ทั้ง​สิ้น​ต่อ​ปี

   	 S	 = 		 ค่าใ​ช้จ​ ่าย​ในก​ าร​สั่งซ​ ื้อ​ต่อ 1 ครั้ง

   	 C	 = 		 ค่าใ​ช้จ​ ่ายใ​น​การเ​ก็บ​รักษาส​ ินค้า​คงเ​หลือ​ต่อห​ น่วยต​ ่อ​ปี

       	 เพื่อ​ความ​เข้าใจ​ใน​การ​ใช้​สมการ​จะ​ขอ​ยก​ตัวอย่าง​ดังนี้ คือ องค์การ​หนึ่ง​มี​ความ​ต้องการ​ใน​การ​ใช้​สินค้า​
คง​เหลือ​เป็นจ​ ำนวน 2,000 หน่วย​ต่อ​ปี มีค​ ่า​ใช้จ​ ่าย​ใน​การ​สั่งซ​ ื้อ​สินค้า​คง​เหลือแ​ ต่ละค​ รั้ง​เป็นเ​งิน 100 บาท​ต่อ​ครั้ง และ​
มีค​ ่า​ใช้จ​ ่าย​ในก​ าร​เก็บ​รักษาส​ ินค้า​คง​เหลือ 10 บาทต​ ่อ​หน่วย​ต่อป​ ี จะ​สามารถค​ ำนวณห​ า EOQ ได้​ดังนี้

	 EOQ	 =	 2(2,0001)0(1,000)		
		 =	 200	 หน่วย

   ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   269   270   271   272   273   274   275   276   277   278   279