Page 277 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 277
การต ิดตามค วบคุม 6-49
ประโยชนข์ องระบบก ารต ิดตามค วบคุมสนิ คา้ ค งเหลือ
โดยส รุปจ ะเห็นได้ว่า ระบบก ารติดตามควบคุมส ินค้าคงเหลือช่วยให้ผู้บริหารสามารถท ำการต ิดตามค วบคุม
สินค้าคงเหลือซ ึ่งเป็นปัจจัยด้านค่าใช้จ่ายที่สำคัญที่มีผ ลกระทบต ่อการดำเนินก ารเพื่อบรรลุว ัตถุประสงค์ขององค์การ
ได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพ ด้วยก ารใช้เทคนิคข องก ารค ำนวณห าป ริมาณส ั่งซ ื้อท ี่ป ระหยัดท ี่สุด (EOQ) และก ารค ำนวณห า
จุดส ั่งซ ื้อ และด ้วยเทคนิคข องก าร มีสตอ็ กส ำรองไว้ กจ็ ะท ำใหอ้ งค์การส ามารถล งทุนในส ินค้าค งเหลือไดอ้ ย่างป ระหยัด
และมีประสิทธิภาพโดยไม่ต ้องเสี่ยงก ับก ารมีสินค้าคงเหลือไว้มากห รือน้อยจนเกินไป อันจ ะน ำผลเสียมาส ู่อ งค์การได้
ทั้งสองกรณี
กจิ กรรม 6.3.2
1. ขอ้ จ ำกัดของเทคนคิ ร ะบบติดตามควบคมุ ส ินคา้ คงเหลอื มอี ะไรบ้าง
2. จงอธบิ ายห นา้ ทข่ี อง Safety Stock
แนวต อบกจิ กรรม 6.3.2
1. ข้อจำกัดประการแรกก็คือ ความต้องการในการใช้สินค้าคงเหลือในระหว่างปีจะต้องคงท่ี ไม่
เปล่ียนแปลงขึ้นลงตามฤดูกาล กล่าวคือ หากมีความต้องการที่ไม่แน่นอนแล้วก็จะใช้เทคนิคน้ีไม่ได้ ประการที่
สอง ระยะเวลาในการสั่งซ้ือจะต้องรู้แน่นอน ซ่ึงในข้อนี้แม้บางครั้งเรารู้ระยะเวลาแน่นอนแล้ว แต่ก็อาจจะเกิด
เหตุการณ์อ่ืนๆ ทท่ี ำให้ไม่ส ามารถจ ดั ส ่งมาให้ทันเวลาได้
2. โปรดพิจารณาห วั เรอ่ื ง 6.3.2 ประกอบ
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช