Page 281 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 281
การต ิดตามควบคุม 6-53
ความแตกตา่ งระหวา่ งร ะบบ PPBS กับระบบงบประมาณแบบธ รรมดา
ความแ ตกต า่ งข องร ะบบก ารต ดิ ตามค วบคมุ PPBS จากร ะบบก ารต ดิ ตามค วบคมุ โดยง บป ระมาณแ บบธ รรมดา
ที่ใช้ก ันอ ยู่โดยท ั่วไปท ี่สำคัญม ีดังนี้ คือ
1. PPBS จัดสรรทรัพยากรให้กับโครงการแทนที่จะเป็นหน่วยงาน กล่าวคือ ในกระบวนการจัดทำ
งบป ระมาณโดยป กติท ั่วไปน ั้น จะม ีก ารจ ัดส รรท รัพย าก รใหก้ ับห น่วยง านต ่างๆ และผ ูบ้ ริหารในแ ต่ละห น่วยง านก จ็ ะน ำ
ทรัพยากรน ั้นไปจ ัดสรรให้ก ับโครงการต ่างๆ ในห น่วยง านข องต นอ ีกค รั้งห นึ่ง ต่างก ับร ะบบ PPBS ซึ่งจ ะท ำการจ ัดสรร
ทรัพยากรให้กับโครงการต่างๆ แทนที่จะจัดสรรให้กับห น่วยง าน
2. ระบบ PPBS เน้นท ี่ส ิ่งนำอ อก (Output) มากกว่าส ิ่งนำเข้า (Input) กล่าวค ือ ระบบ PPBS จะเน้นท ี่ผลท ี่
จะได้ร ับ หรือส ิ่งน ำออกที่จ ะได้รับจากโครงการท ี่จ ัดทำม ากกว่า ดังน ั้น การจัดทำง บประมาณให้กับกิจกรรมต่างๆ จึง
จัดทำในลักษณะที่เป็นไปในแนวทางที่จะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่ตั้งไว้ได้ ผิดกับระบบการติดตาม
ควบคุมโดยงบประมาณทั่วไปซึ่งจะเน้นที่สิ่งนำเข้า เช่น การจัดงบประมาณในลักษณะที่แบ่งแยกออกเป็นหมวดหมู่
คือ หมวดค ่าก่อสร้าง หมวดค ่าใช้จ่ายเงินเดือน และอ ื่นๆ เป็นต้น หรือแ บ่งแยกต ามหน้าที่เพื่อจ ัดสรรง บประมาณให้
หน่วยงานในหน้าที่ต่างๆ สามารถอยู่ได้ โดยไม่ได้จัดให้อยู่ในลักษณะที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่าย
เหล่านี้ต ่อวัตถุประสงค์ห รือเป้าหมายที่ก ำหนดไว้เลย
3. ระบบ PPBS เน้นท ี่ก ารจัดท ำง บป ระมาณร ะยะย าว กล่าวค ือ ระบบจะเน้นท ี่การจัดท ำง บประมาณต าม
โครงการหรืองบประมาณระยะยาวมากกว่าการจัดทำงบประมาณโดยทั่วๆ ไป ซึ่งเป็นการจัดทำงบประมาณระยะสั้น
หรือภายใน 1 ปี ทั้งนี้เพราะงบประมาณระยะสั้นนั้นถูกนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพในการติดตามควบคุมงาน
บริหารเท่านั้น แต่ไม่ส ามารถที่จ ะน ำมาใช้ได้ในการต ิดตามควบคุมงานโครงการ ซึ่งเป็นง านที่มีร ะยะเวลาย าวก ว่า คือ
งบประมาณระยะสั้นไม่สามารถที่จะคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมดของโครงการระยะยาวตลอดโครงการได้อย่างถูกต้อง
เพราะต้องก ำหนดงบป ระมาณในล ักษณะปีต ่อป ี อีกป ระการหนึ่งก ารจัดทำง บป ระมาณในร ะยะสั้นนั้นทำให้ไม่สามารถ
ที่จ ะคาดได้ว ่าผลตอบแทนจากโครงการต ่างๆ ที่ได้รับจะเป็นผ ลตอบแทนท ี่ส ูงท ี่สุด
4. ระบบ PPBS ช่วยกำหนดมาตรฐานซึ่งสามารถนำมาใช้วัดและประเมินความก้าวหน้าของโครงการ
เช่น การกำหนดมาตรฐานของค่าใช้จ่ายและกำหนดเวลาเสร็จสิ้นของกิจกรรม ทำให้สามารถนำมาเปรียบเทียบกับ
ผลง านท ี่เสร็จส ิ้นจริงๆ และส ามารถทราบค วามก ้าวหน้าข องง านตามโครงการ ซึ่งข ้อมูลด ังกล่าวท ำให้องค์การส ามารถ
เปลี่ยนแปลงก ารใช้ท รัพยากรขององค์การให้เหมาะสมตามค วามเป็นจ ริงได้
5. ระบบ PPBS เน้นท ีก่ ารว างแผนส ูอ่ นาคตม ากกว่าท ีจ่ ะม ุ่งท ีก่ ารเป็นร ะบบค วบคุมค ่าใชจ้ ่าย ใหเ้ป็นไปต าม
งบประมาณประจำป ีเหมือนเช่นที่เป็นลักษณะข องระบบการติดตามค วบคุมงบป ระมาณแบบธ รรมดา ในกระบวนการ
จัดทำงบประมาณระบบ PPBS จะมีลักษณะเป็นการพยายามที่จะกำหนดและประเมินโครงการต่างๆ ที่จะจัดทำใน
อนาคตม ากกว่าท ี่จะเป็นการจ ัดท ำง บประมาณของง านที่มีลักษณะเป็นง านป ระจำ
6. ระบบ PPBS เน้นที่ระบบ กล่าวคือ ในระบบนี้จะมีการใช้แนวความคิดเชิงระบบเข้ามาแก้ไขปัญหาที่
ยุ่งยากสลับซ ับซ้อนต่างๆ เช่น มีการพ ิจารณาถ ึงส ภาวะแ วดล้อมของปัญหาต่างๆ อย่างท ั่วถ ึง เพื่อให้สามารถตัดสินใจ
ในทางเลือกต ่างๆ ภายใต้สภาวะความไม่แ น่นอนได้อย่างถ ูกต้อง หรือม ีการใช้วิธีบ ูรณาก ารกร ะบวนก ารว างแผนแ ละ
กระบวนการก ำหนดง บป ระมาณเข้าด ว้ ยก ัน เพือ่ ใหก้ ารใชท้ รพั ยากรข องอ งค์การในก ารบ รรลวุ ัตถุประสงคข์ องโครงการ
ระยะยาวหรือข องห น่วยงานเป็นไปอย่างม ีป ระสิทธิผล
ลขิ สิทธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช