Page 284 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 284
6-56 องค์การแ ละก ารจ ัดการและก ารจัดการท รัพยากรม นุษย์
เรอ่ื งท่ี 6.3.4
การต รวจสอบก ารจดั การ
ก่อนท ีจ่ ะก ล่าวถ ึงก ารต รวจส อบก ารจ ัดการ (Management Audit) ในฐ านะเป็นเครื่องม ือห รือเทคนิคในก าร
ติดตามค วบคุม จำเป็นท ีจ่ ะต ้องอ ธิบายถ ึงค วามห มายข องค ำว ่า “การต รวจส อบ” (Auditing) ก่อน คำว ่า การต รวจส อบ
น ัน้ เป็นศ พั ทท์ างบ ัญชี ซึง่ ห มายถ งึ การต รวจส อบร ายงานก ารเงนิ เพื่อด คู วามถ ูกต อ้ งแ ละเพื่อใหร้ ายงานก ารเงินน ัน้ แ สดง
ความเปน็ จ รงิ ท เี่ กดิ ข ึน้ หรอื ก ลา่ วอ กี น ยั ห นึง่ การต รวจส อบก ค็ อื การต รวจส อบร ายงานก ารเงนิ ต า่ งๆ ของอ งคก์ ารน ัน่ เอง
ซึ่งการตรวจสอบในลักษณะนี้โดยทั่วไปจะต้องให้ผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตจากภายนอกอ งค์การเป็นผู้ตรวจสอบ
ดงั น ัน้ จ งึ ม กั จ ะเรยี กก ารต รวจส อบล กั ษณะน วี้ า่ การต รวจส อบภ ายนอก (External Audit) อยา่ งไรก ด็ ยี งั ม กี ารต รวจส อบ
อีกลักษณะหนึ่งที่จัดทำเองโดยกลุ่มผู้เชี่ยวชาญจากภายในองค์การเอง ซึ่งเรียกว่า การตรวจสอบภายใน (Internal
Audit) การตรวจส อบภายในก็เหมือนกับการตรวจสอบภ ายนอก คือ เป็นการต รวจสอบความถูกต้องข องร ายงานก าร
เงินและวิเคราะห์ดูว ่าร ายงานก ารเงินนั้นแสดงค วามเป็นจ ริงตามท ี่ควรจ ะเป็นหรือไม่ อย่างไรก็ดีม ีความแตกต ่างก ันที่
ว่า การตรวจสอบภายในนั้นม ีว ัตถุประสงค์เพื่อต รวจส อบดูว่าร ะบบการต ิดตามควบคุมต่างๆ ที่ใช้อยู่ภายในองค์การ
ดำเนินก ารอย่างมีป ระสิทธิผลห รือไม่ ยกต ัวอย่างเช่น ตรวจสอบดูว ่า ระเบียบ วิธีปฏิบัติ และว ิธีก ารท ำงานท ี่กำหนด
ขึ้นนั้นเป็นไปตามนโยบายขององค์การที่วางไว้หรือไม่ และจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไขในกรณีที่ระเบียบ
วิธีปฏิบัติและวิธีการทำงานไม่ได้เป็นไปตามนโยบายที่วางไว้ หรืออีกตัวอย่างหนึ่ง เช่น การตรวจสอบการจัดซื้อของ
องค์การ ซึ่งนอกจากจะตรวจสอบว่าม ีก ารจัดท ำรายงานต ่างๆ อย่างถ ูกต้องตรงก ับความเป็นจริงแ ล้ว ก็จะต รวจสอบ
ดูด ้วยว ่าวัตถุดิบหรืออุปกรณ์ต ่างๆ ที่ซื้อม านั้นม ีค ุณภาพที่ดีท ี่สุดเท่าที่จ ะหาซ ื้อได้ด้วย เป็นต้น สำหรับก ารตรวจสอบ
การจ ัดการ (Management Audit) นั้นเป็นการต รวจส อบท ีม่ ขี อบเขตค รอบคลมุ ก วา้ งก ว่าล กั ษณะก ารต รวจส อบท ั้งส อง
ประเภทท ี่กล่าวถึง กล่าวค ือ จะเป็นการตรวจส อบและประเมินการด ำเนินก าร (Performance) ทั้งหมดขององค์การ
การตรวจสอบก ารจ ัดการได้รับการพ ัฒนาขึ้นโดย Jackson Martindell แห่งส ถาบันการจ ัดการของอเมริกัน
(American Institute of Management หรือ AIM) เพื่อเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์กิจกรรมต่างๆ ทั้งในอดีต
ปัจจุบัน และอ นาคต เพื่อให้องค์การได้ร ับผ ลต อบแทนท ี่ส ูงที่สุดจากทรัพยากรท ี่มีอยู่อย่างจำกัด โดยก ารต รวจส อบ
การจ ัดโครงสร้างข องอ งค์การ นโยบายว ธิ กี ารท ำงาน ระเบียบว ธิ ปี ฏิบัตทิ างการเงิน ประสทิ ธภิ าพข องเครือ่ งจกั รอ ุปกรณ์
การปฏิบัติงานของพนักงานและผู้บริหาร รายงานสถานภาพทั้งหมดขององค์การให้ทราบข้อมูลจากรายงานนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้บริหารระดับสูงในแง่ของการรับทราบปัญหาที่เป็นปัญหาใหญ่ซึ่งจะต้องแก้ไขก่อน และในแง่ของการ
ตดิ ตามค วบคุมน โยบายแ ละร ะเบียบว ธิ ปี ฏบิ ตั ใิหเ้ปน็ แ นวทางท ีส่ อดคล้องก บั ว ัตถุประสงคข์ องอ งคก์ าร และช ว่ ยให้การ
ตดิ ตอ่ ส ือ่ สารร ะหวา่ งก ารบ รหิ ารร ะดบั ต า่ งๆ ดขี ึน้ เนือ่ งจากท กุ ค นไดท้ ราบถ งึ ส ถานภาพข องอ งคก์ าร และป ระการส ดุ ทา้ ย
ช่วยให้ส ามารถทดสอบได้ว ่าร ะบบการติดตามควบคุมต ่างๆ ที่ใช้อยู่ดำเนินก ารตามห น้าที่อย่างม ีประสิทธิผลหรือไม่
กิจกรรม 6.3.4
การตรวจส อบก ารจ ัดการม ีว ตั ถุประสงคเ์ พือ่ อะไร
แนวตอบก จิ กรรม 6.3.4
โปรดพ ิจารณาหวั เรือ่ ง 6.3.4 ประกอบ
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช