Page 286 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 286
6-58 องค์การและการจัดการและการจัดการท รัพยากรม นุษย์
เทคนิคของการแสดงโครงการในรูปของแผนภาพนี้เป็นเทคนิคง่ายๆ ซึ่งอาจนำไปใช้ได้โดยเริ่มทำเป็นขั้นๆ
ดังนี้
1. วิเคราะห์โครงการเพื่อจ ัดแ บ่งออกเป็นก ิจกรรมต่างๆ
2. ทำการป ระมาณเวลาท ี่จ ะต ้องใชใ้นก ารด ำเนินก ิจกรรมแ ต่ละก ิจกรรม (การก ำหนดเวลาส ำหรับก ารด ำเนิน
กิจกรรมห นึ่งก ิจกรรมใด ควรใหผ้ ูท้ ีจ่ ะป ฏิบัติก ิจกรรมน ั้นเป็นผ ูก้ ำหนด หรือท ำการก ำหนดโดยใชว้ ิธรี ่วมป รึกษาก ันก ับ
ผู้ปฏิบัติง าน)
3. จัดวางกิจกรรมในลักษณะลดหลั่นก ันตามลำดับก่อนห ลังจ ากก ิจกรรมที่เป็นจุดเริ่มต้นจนถึงกิจกรรมที่
เป็นจ ุดส ิ้นส ุดโครงการ เพื่อให้ท ราบว่ากิจกรรมใดต้องท ำก่อนห รือหลังห รือพร้อมๆ กันได้ กรณีถ้ามีก ารกำหนดว ันที่
โครงการจะต้องเสร็จสิ้นก็ให้เริ่มจัดวางกิจกรรมจากกิจกรรมที่เป็นจุดสิ้นสุดโครงการถอยหลังกลับมายังกิจกรรมที่
เริ่มต้น ก็จ ะทราบเวลาที่จ ะต้องเริ่มดำเนินการต ามโครงการได้โดยโครงการจะเสร็จส ิ้นทันเวลา
จากท ี่กล่าวม าท ั้งหมดพ อจ ะกล่าวถ ึงป ระโยชน์ของแผนภูมิแ ท่งได้ว ่า จะช ่วยให้การก ำหนดแผนและกำหนด
เวลาเสร็จสิ้นของกิจกรรมต่างๆ สามารถแสดงความสัมพันธ์ออกมาให้เห็นเป็นภาพร่วมกันได้อย่างชัดเจนทำให้เรา
สามารถทราบสถานะของกิจกรรมต่างๆ ว่ามีความคืบหน้าเกินกำหนดหรือล่าช้ากว่ากำหนดเวลาไปอย่างไรและทำให้
เราสามารถประมาณร ะยะเวลาที่โครงการจ ะล่าช้ากว่าก ำหนดได้
อย่างไรก็ด ี แผนภูมิแท่งม ีข้อจำกัด กล่าวค ือ ไม่ส ามารถแ สดงความส ัมพันธ์ระหว่างก ิจกรรมต ่างๆ ให้เห็นได้
ทำให้ไม่ทราบถึงผลกระทบของการล่าช้าในกิจกรรมหนึ่งต่อกิจกรรมอื่นๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า เราไม่สามารถ
ทราบได้เลยว่ากิจกรรมไหนพอที่จะปล่อยให้เลยเวลาหรือล่าช้ากว่ากำหนดเวลาเสร็จสิ้นของโครงการทั้งหมดจะไม่
ล่าช้าไปด้วย อีกประการหนึ่ง เทคนิคของแผนภูมิแท่งสามารถที่จะใช้ได้กับโครงการที่มีขนาดเล็กมีลักษณะงานที่ไม่
ยุ่งย ากซ ับซ ้อนเท่านัน้ สำหรับโครงการใหญท่ มี่ ลี ักษณะง านท ีย่ ุง่ ย ากซ ับซ้อนแ ล้วจ ะไมส่ ามารถน ำเทคนคิ น ีม้ าใช้ไดอ้ ย่าง
มีป ระสิทธิภาพ ประการส ุดท้าย แผนภูมิแ ท่งไม่ส ามารถให้ข ้อมูลท ี่เพียงพ อต ่อก ารท ี่จ ะพ ยากรณ์ เพื่อท ราบว ่าก ิจกรรม
ไหนท ี่จะไม่ส ามารถล่าช้าก ว่าก ำหนด เพื่อที่จ ะป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นได้ก่อนที่จ ะเกิดการล ่าช้ากว่าก ำหนดข ึ้นจ ริงๆ
PERT/CPM
เทคนิคข อง PERT (Program Evaluation and Review Technique) และ CPM (Critical Path Method)
เป็นเทคนิคซึ่งได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนและควบคุมการบริหารโครงการใหญ่ๆ หรือ
โครงการที่ม ีข ่ายป ฏิบัติงานท ี่ยุ่งย ากสลับซับซ ้อน
PERT ได้ร ับก ารพ ัฒนาข ึ้นโดยก องทัพเรือส หรัฐฯ ร่วมก ับก ลุ่มผ ู้เชี่ยวชาญจ ากบ ริษัท Lockheed และ บริษัท
ที่ปรึกษา Booz. Allen and Hamilon ในปี ค.ศ.1957-1958 เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการว างแผนแ ละค วบคุมโครงการ
วิจัยแ ละพัฒนาเรือด ำน้ำติดหัวจรวดนิวเคลียร์ชื่อ Polaris เหตุผลของการพ ัฒนา PERT ขึ้นมาก ็เพราะก ารว ิจัยและ
พัฒนาตามโครงการนี้จำเป็นที่จะต้องยุ่งเกี่ยวกับบริษัทผู้ผลิตเป็นจำนวนหลายพันบริษัท และมีกิจกรรมต่างๆ ที่จะ
ต้องปฏิบัติตามโครงการเป็นจำนวนมาก ซึ่งกิจกรรมต่างๆ เหล่านี้มีความยุ่งยากสลับซับซ้อนและมีความสัมพันธ์กัน
อย่างลึกซึ้ง และจำเป็นจะต้องได้รับการประสานงานกันอย่างใกล้ชิด ประกอบกับกองทัพเรือต้องการให้ใครงการนี้
เสร็จสิ้นก่อนเวลาที่ก ำหนดตามโครงการเพื่อผ ลทางด้านการทหารและก ารเมืองระหว่างป ระเทศ จึงจ ำเป็นต้องพัฒนา
เครื่องมือในการวางแผนและควบคุมที่มีประสิทธิภาพเพื่อการประสานงานกิจกรรมต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ ซึ่ง
PERT สามารถช ว่ ยย น่ ร ะยะเวลาต ามโครงการไดม้ ากกวา่ 2 ปี และห ลงั จ ากน ัน้ ก ไ็ ดร้ บั ค วามน ยิ มแ ละน ำม าใชใ้ นโครงการ
ของพ ลเรือนก ันอ ย่างแ พร่ห ลาย สำหรับ CPM นั้น ได้ร ับก ารพ ัฒนาข ึ้นในร ะยะเวลาใกล้ๆ กันโดยก ลุ่มผ ู้เชี่ยวชาญจ าก
บริษัท E.I. du Pont de Nemour ร่วมก ับก ลุ่มผ ู้เชี่ยวชาญด ้านค อมพิวเตอร์จ ากบ ริษัท Remington Rand’s Univac
เพื่อใช้เป็นเครื่องม ือในก ารวางแผนแ ละควบคุมโครงการก่อสร้างโรงงานผ ลิตภัณฑ์เคมีภัณฑ์
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช