Page 282 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 282
6-54 องค์การและการจ ัดการและก ารจ ัดการท รัพยากรมนุษย์
อปุ สรรค
เป็นท ี่ค าดกันว ่าในการนำระบบ PPBS เข้าม าใช้จะประสบก ับอุปสรรคต่อไปนี้
1. การขัดแย้งระหว่างกลุ่มผู้รับผิดชอบในการวางแผนระยะยาว และกลุ่มของผู้รับผิดชอบในการจัดทำ
งบประมาณ เนื่องจากหน่วยงานของรัฐจะมีหน่วยงานที่ทำหน้าที่ทั้งสองลักษณะนี้อยู่แยกกัน ซึ่งจะต้องมาทำงาน
ร ่วมก ัน จึงม ักจ ะเกิดป ัญหาข องค วามข ัดแ ย้งอ ันเนื่องม าจ ากพ ื้นฐ านท างว ิชาการแ ละป ระสบการณท์ ีม่ คี วามแ ตกต ่างก ัน
2. การข าดข ้อมูลท ี่เชื่อถ ือได้ในก ารป ระมาณค ่าใชจ้ ่าย และก ารข าดเครื่องม ือท ี่ส ามารถน ำม าว ัดผลต อบแทน
ในล ักษณะที่เห็นชัดได้
3. การขาดบุคลากรที่สามารถจ ะน ำแนวคิดตามระบบ PPBS ไปป ฏิบัติได้
4. ปัญหาด ้านการเมือง กล่าวคือ การตัดสินใจในแง่นโยบายห รือการจ ัดสรรทรัพยากรของรัฐนั้น ถึงแม้จะ
มีพื้นฐานมาจากการวางแผนที่สมเหตุสมผล แต่ก็มักจะมีเรื่องทางการเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ กรณีโครงการ
ก่อสร้างสนามบ ินส ุวรรณภูมิซ ึ่งต้องใช้ระยะเวลาด ำเนินก ารกว ่า 30 ปี เป็นต ัวอย่างท ี่เห็นได้ชัดเจน
งบประมาณฐ านศนู ย์ (Zero – Base Budgeting หรือ ZBB)
งบป ระมาณฐ านศ ูนยเ์ป็นร ะบบก ารจ ัดท ำง บป ระมาณท ีก่ ำหนดง บป ระมาณค ่าใชจ้ ่ายส ำหรับก ิจกรรมต ่างๆ ทุก
กิจกรรมต ั้งแต่เริ่มต ้นจ นถึงส ิ้นส ุดโครงการ โดยไมค่ ำนึงถ ึงง บป ระมาณค ่าใชจ้ ่ายท ีเ่คยก ำหนดไวส้ ำหรับก ิจกรรมต ่างๆ
ในอ ดีตระบบ ZBB นี้ได้รับก ารพัฒนาขึ้นใช้ค รั้งแรกโดยบริษัท Texas Instrument ในตอนช ่วงป ลายของท ศวรรษ
1960 และได้ร ับความนิยมอย่างแ พร่หลายในทศวรรษ 1970 ในร ะบบ ZBB นี้ การจ ัดทำง บป ระมาณจะเริ่มตั้งแต่ศูนย์
หรอื เริม่ ก ำหนดต ัง้ แตจ่ ดุ เริม่ ต น้ ข องโครงการ นัน่ ก ค็ อื การก ำหนดง บป ระมาณค า่ ใชจ้ า่ ยส ำหรบั โครงการห นึง่ โครงการใด
จะต้องเริ่มกำหนดตั้งแต่กิจกรรมซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นว่าต้องมีค่าใช้จ่ายดำเนินการเท่าใดเรื่อยไปจนถึงกิจกรรมซึ่งเป็น
จดุ ส ิน้ ส ดุ ข องโครงการ จะเหน็ ไดว้ า่ ด ว้ ยว ธิ กี ารข องร ะบบน จี้ ะบ งั คบั ใหผ้ บู้ รหิ ารท ำการก ำหนดแ ละจ ดั ล ำดบั ข องก จิ กรรม
ที่จ ะต้องท ำก่อนหรือห ลัง พร้อมท ั้งต้องทำการว ิเคราะห์ก ิจกรรมแ ต่ละกิจกรรมเพื่อคำนวณง บป ระมาณค่าใช้จ่ายท ี่จ ะ
ต้องใช้ งบป ระมาณข องก ิจกรรมต ่างๆ ที่อ งค์การค ิดจ ะจ ัดท ำเพื่อน ำม าร วมเข้าด ้วยก ันก จ็ ะเป็นง บป ระมาณข องอ งค์การ
นั้น การพ ัฒนาร ะบบ ZBB ขึ้นม าก เ็พื่อใหส้ ามารถจ ัดล ำดับค วามส ำคัญก ่อนห ลังข องโครงการต ่างๆ ได้ และเพื่อเป็นการ
ลดความไม่มีป ระสิทธิภาพข องร ะบบง บประมาณแบบธรรมดาซ ึ่งของ บเพิ่มท ุกปี (Incremental Budgeting) ที่ใช้ก ัน
มาในอ ดีต กล่าวค ือ งบป ระมาณแบบธรรมดาท ี่จ ัดทำก ันน ั้นเป็นง บประมาณที่ข าดห ลักก ารในการกำหนดง บป ระมาณ
ค่าใช้จ่าย โดยห น่วยงานม ักจะของ บประมาณเพิ่มขึ้นจากง บป ระมาณท ี่เคยข อไว้เดิมเสมอโดยไม่ได้มีก ารว ิเคราะห์ถ ึง
ค่าใช้จ ่ายเปรียบเทียบกับผ ลตอบแทนที่จะได้รับ เช่น ขอเพิ่มขึ้น 10% ทุกๆ ปี เป็นต้น ทำให้ไม่สามารถท ี่จ ะประเมิน
ผลกระทบได้อย่างถูกต้องเมื่อต้องการที่จะล้มเลิกโครงการหรือลดจำนวนโครงการลง และทำให้ผู้จัดงบประมาณไม่
ได้ร ับก ารส นับสนุนให้ท ำการป ระเมินผ ลข องก ิจกรรมต ่างๆ เพื่อค ้นหาว ิธีต ่างๆ ที่ด ีท ี่สุดท ี่จ ะช ่วยให้บ รรลุว ัตถุประสงค์
ของง บประมาณได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพ
กระบวนข องร ะบบ ZBB
กระบวนการในการก ำหนดงบป ระมาณข องระบบ ZBB มีข ั้นตอน ดังนี้คือ
1. กำหนดก จิ กรรมแ ตล่ ะก จิ กรรมในล กั ษณะท ีเ่อื้อต ่อก ารต ัดสินใจ โดยก ารจ ัดท ำในล กั ษณะช ดุ ก ารต ดั สนิ ใจ
(Decision Package) หรือโปรแกรมก ารตัดสินใจ ซึ่งแ สดงให้เห็นถึงผลลัพธ์ท ี่คาดว ่าจะได้ร ับ ค่าใช้จ่ายที่จ ะต้องเสีย
จำนวนคนที่จ ะต้องใช้ เครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทางเลือกต่างๆ สำหรับการดำเนินการ
และแ สดงก ารป ระเมินให้เห็นถ ึงผ ลต อบแทนท ี่จ ะม ีต ่ออ งค์การ และผ ลท ี่จ ะเกิดข ึ้นห ากไม่ด ำเนินก ิจกรรมน ั้น ด้วยก าร
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช