Page 288 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 288

6-60 องค์การ​และ​การจ​ ัดการ​และ​การ​จัดการ​ทรัพยากร​มนุษย์

       ในว​ ิธี​การเ​ขียนโ​ครง​ข่าย​ปฏิบัติ​งาน​ตามเ​ทคนิคข​ อง PERT จะใ​ช้​สัญลักษณ์​รูปว​ งกลม แทนเ​หตุการณ์ และ​
สัญลักษณ์​รูป​ลูกศ​ ร ( ) แทน​กิจกรรม ดัง​ตัวอย่าง​ภาพท​ ี่ 6.15

                           	 เหตุการณ์	        กิจกรรม  เหตุการณ์
                           	 A	                            B

                           ภาพท​ ่ี 6.15 การ​เขยี น​สว่ น​หนง่ึ ข​ องโ​ครงข​ ่ายป​ ฏิบัต​ิงาน

เมื่อ​เข้าใจ​ใน​ความ​แตก​ต่าง​ของ​คำ​ว่า เหตุการณ์​และ​กิจกรรม​ใน​วิธี​การ​ของ PERT ตาม​ที่​อธิบาย​มา​แล้ว ก็​

จะ​สามารถ​สร้างโ​ครงข​ ่ายป​ ฏิบัติง​ าน​ของโ​ครงการ​ผลิต​สินค้าใ​หม่​สู่ต​ ลาด ซึ่งไ​ด้ย​ ก​ตัวอย่างม​ าแ​ ล้ว​ใน​เรื่องข​ องแ​ ผนภูม​ิ

ภาพไ​ด้ ดังภ​ าพ​ที่ 6.16
	
                                        4 ง, 3 5

                               ข, 1 ฉ, 2

1 ก, 2 2                   ค, 6          ฌ, 0                   7 ซ, 1 8
                                                        ช, 3
                                         3 จ, 4 6

                          ภาพ​ที่ 6.16 การเ​ขียนโ​ครงข​ ่ายป​ ฏิบตั ​ิงาน​แบบ​เตม็ ร​ ูปแ​ บบ

       จาก​ภาพ​ที่ 6.16 จะ​เห็น​ได้​ว่า​โครง​ข่าย​ปฏิบัติ​งาน​ของ PERT เป็นโ​ครง​ข่าย​ซึ่ง​แสดง​การ​ลำดับ​ก่อน​หลัง​ของ​
กิจกรรม​และ​เหตุการณ์​ต่างๆ ที่​ประกอบ​กัน​ขึ้น​เป็น​โครงการ การ​เขียน​โครง​ข่าย​จะ​เขียน​มา​จาก​ที่​กล่าว​ไว้​ใน​เรื่อง​
ของ​การ​วิเคราะห์​โครง​ข่าย​ปฏิบัติ​งาน ซึ่ง​จะ​นำ​กิจกรรม​ต่างๆ มา​เรียง​ลำดับ​ก่อน​หลัง​ตั้งแต่​ต้น​จนถึง​สิ้น​สุด​โครงการ
เพื่อ​แสดง​ความ​สัมพันธ์​ใน​รูป​ของ​ระบบ​เพื่อ​ให้​เห็น​ภาพ​ของ​โครงการ​ทั้งหมด ถ้า​ดู​ที่​ลูก​ศร​ซึ่ง​แสดง​กิจกรรม​ทาง​ของ​
ลูก​ศร​จะ​เป็น​จุด​แสดง​การ​เริ่ม​ต้น​ของ​กิจกรรม และ​หัว​ของ​ลูก​ศร​แสดง​จุด​สิ้น​สุด​ของ​กิจกรรม เหนือ​ลูก​ศร​มี​ตัว​อักษร
ก. กำกับ หมายถ​ ึง กิจกรรม ก. และ​ตัวเลข 2 หมายถ​ ึง ใช้​ระยะเ​วลา 2 เดือน ถ้าด​ ู​ที่ว​ งกลม​ซึ่งแ​ สดงเ​หตุการณ์จ​ ะ​เห็น​
ว่า มี​ตัวเลข​กำกับ​จาก​น้อย​ไป​หา​มาก ตัวเลข​นี้​จะ​เริ่ม​ต้น​ด้วย 1 สำหรับ​เหตุการณ์​ที่มา​ก่อน​หรือ​ที่​เป็น​จุด​เริ่ม​ต้น จะ
​เพิ่ม​ขึ้น​ตาม​ลำดับ​ของ​เหตุการณ์​เรื่อย​ไป​จนถึง​เหตุการณ์​สุดท้าย​ซึ่ง​มี เลข 8 กำกับ​ซึ่ง​แสดง​จุด​สิ้น​สุด​ตาม​โครงการ
ดัง​นั้น ตัวเลข​ใน​วงกลม​ตอน​หัว​ของ​ลูก​ศร​จะ​ต้อง​ใหญ่​กว่า​ตัวเลข​ใน​ตอน​หาง​ของ​ลูก​ศร​เสมอ ลูก​ศร​ที่​เป็นเส้นประ
( ) ลากจ​ ากเ​หตุการณ์​ที่ 3 ไปย​ ังเ​หตุการณ์​ที่ 4 ไม่ใช่ก​ ิจกรรมท​ ี่​มี​การป​ ฏิบัติ​งาน​จริง​หรือ​มี​การใ​ช้​ระยะเ​วลา​แต่เ​ป็น​
เส้นท​ ี่​ลากไ​ว้​เพื่อแ​ สดง​ความส​ ัมพันธ์​ระหว่างก​ ิจกรรม ง. และก​ ิจกรรม ค. ดังน​ ั้น ระยะ​เวลาข​ องก​ ิจกรรม ฌ. จึงเ​ป็น​
ศูนย์ (0) เราเ​รียกเ​ส้น​นี้ว​ ่า กิจกรรมจ​ ำลอง (Dummy Activity) กล่าวค​ ือ ลาก​โยงจ​ ากเ​หตุการณ์ 3 ไปย​ ัง​เหตุการณ์ 4
เพียงเ​พื่อ​แสดงว​ ่า กิจกรรม ง. นั้น​จะเ​ริ่มด​ ำเนิน​ได้​นอกจากจ​ ะต​ ้อง​รอ​ให้​กิจกรรม ข. เสร็จ​แล้ว​ยัง​จะต​ ้อง​รอ​ให้​กิจกรรม
ค. เสร็จส​ ิ้น​ด้วย แต่ส​ ำหรับ​กิจกรรม จ. นั้น เพียง​รอ​ให้​กิจกรรม ค. เสร็จ​สิ้น​ก็​จะ​เริ่มไ​ด้

                           ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   283   284   285   286   287   288   289   290   291   292   293