Page 290 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 290
6-62 องค์การแ ละก ารจ ัดการและก ารจัดการทรัพยากรม นุษย์
จากสูตรน ี้จ ะหมายความว ่า ในการค ำนวณเวลาเสร็จส ิ้นข องกิจกรรมหนึ่งก ิจกรรมใดตามโครงการ ตั้งแต่จ ุด
เริ่มต ้นจนถึงจุดส ิ้นส ุด ผู้ที่ร ับผ ิดชอบในการดำเนินกิจก รร มน ั้นๆ จะต้องท ำการประมาณระยะเวลาดำเนินกิจกรรม 3
ระยะเวลาด้วยก ัน คือ
1. ระยะเวลาที่ใช้น ้อยหร ือต่ำที่สุดในการทำงานจ ะเป็นเท่าใด (a) ในการประมาณร ะยะเวลาต่ำส ุดนี้มักจ ะม ี
สมมติฐานว ่า สถานการณ์ทุกอ ย่างด ำเนินไปด้วยด ีเกินคาด
2. ระยะเวลาที่ใช้นานที่สุดในการทำงานจะเป็นเท่าใด (b) โดยมีสมมติฐานว่า สถานการณ์ไม่เป็นไปตามที่
คาดไว้ และ
3. ระยะเวลาที่ค าดว่าง านจ ะเสร็จมากที่สุดจะเป็นร ะยะเวลาใด (m) โดยมีสมมติฐานว่า สถานการณ์เป็นไป
ตามป กติ ระยะเวลาท ี่คำนวณได้จากส ูตรนี้จ ะเป็นระยะเวลาท ี่ใกล้เคียงความจ ริงมากที่สุดในแง่ข องสถิติ
อย่างไรก ด็ ี เพื่อใหส้ ามารถใช้ต ัวอย่างข องโครงการผ ลิตส ินค้าใหมส่ ูต่ ลาดต ่อไปได้ ขอส มมตวิ ่าร ะยะเวลาข อง
กิจกรรมต่างๆ ตามโครงการซึ่งได้สมมติข ึ้นนั้นเป็นระยะเวลาท ี่ได้ผ่านการค ำนวณจ ากสูตรนี้มาแล้ว
วธิ กี ารคำนวณห าทางสายวกิ ฤต
ก่อนที่จะคำนวณหาทางสายวิกฤตได้ จำเป็นที่จะต้องทราบกำหนดวันเวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด (Earliness
Expected Time หรือ TE) ของเหตุการณ์หนึ่งเพื่อที่กิจกรรมต่อจากเหตุการณ์นั้นจะเริ่มดำเนินการได้และกำหนด
วันเวลาแล้วเสร็จอย่างช้าที่สุด (Latest Allowable Time หรือ TL) ของเหตุการณ์หนึ่ง เพื่อที่กิจกรรมต่างๆ ตาม
โครงการจ ะสามารถเสร็จทันได้ตามกำหนดเวลา
การคำนวณกำหนดเวลาแล้วเสร็จเร็วท ี่สุด (TE) ของเหตุการณ์ห นึ่งนั้น อาจแสดงให้เห็นได้ ดังภาพท ี่ 6.17
TE 8 11
0 4 ง, 3 5
1 ก, 2 2 ข, 1 ฉ, 2 15 16
7 ซ, 1 8
2 ฌ, 0
ค, 6 8 12 ช, 3
3 จ, 4 6
ภาพที่ 6.17 การค ำนวณ TE ของโครงการ
ภาพท ี่ 6.17 จะเห็นได้ว่า กำหนดเวลาแ ล้วเสร็จเร็วท ี่สุด (TE) ของเหตุการณ์ 1 เป็น 0 ทั้งนี้เพราะก ่อนหน้าน ี้
ไม่มีกิจกรรมท ี่ต้องจ ัดท ำอยู่ก่อนเลย สำหรับเหตุการณ์ 2 นั้น กำหนดว ันเวลาแ ล้วเสร็จเร็วท ี่สุดค ือ 2 เดือน เพราะมี
กิจกรรม ก. ซึ่งใช้เวลาในการด ำเนินงาน 2 เดือน อยู่ก่อนหน้าเหตุการณ์ 2 หรือคำนวณได้โดยเอา TE ของเหตุการณ์ 1
บวกก ับร ะยะเวลาก ารดำเนินงานข องกิจกรรม ก. ก็จ ะได้ 2 เดือน คือ 0 + 2 = 2 แล้วใส่ไว้เหนือวงกลมท ี่ 2 เยื้องไปท าง
ขวาในส ี่เหลี่ยม การเขียน TE ของเหตุการณ์ต่างๆ ต่อไปจะเขียนไว้ในลักษณะเดียวกัน TE ของเหตุการณ์ 3 จะเป็น
8 เดือน (2 + 6 = 8) ส่วน TE ของเหตุการณ์ 4 จะเป็น 8 เดือน (2 + 6 + 0 = 8) ไม่ใช่ 3 เดือน ซึ่งได้จากผ ลรวมของ
กิจกรรม ก. และ ข. ทั้งนี้เพราะเหตุการณ์ที่ 4 มีทางส ายข องก ิจกรรมอยู่ 2 ทางที่มาก ่อนหน้า คือ ก — ข และ ก — ค — ฌ
ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช