Page 273 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 273
การติดตามค วบคุม 6-45
4. ค่าใช้จ ่ายในก ารต รวจสอบคุณภาพ
5. ค่าใช้จ ่ายในการจัดเก็บ
6. ค่าใช้จ ่ายในด้านบ ัญชีแ ละก ารตรวจสอบ
จากท กี่ ลา่ วม าท ัง้ หมดพ อจ ะส รปุ ไดว้ า่ การม สี นิ คา้ ค งเหลอื ไวก้ เ็ พือ่ ท จี่ ะห ลกี เลีย่ งค า่ ส ญู เสยี โอกาสท จี่ ะต อ้ งเสยี
ลูกค้าไปในกรณีที่ลูกค้าต้องการซื้อสินค้าและองค์การไม่มีสินค้าจะขายให้ และเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพของ
หน่วยงานต ่างๆ โดยส ามารถทำงานได้อย่างต ่อเนื่องไม่หยุดช ะงัก แต่การมีส ินค้าคงเหลือไว้ก็ย่อมต้องเสียค ่าใช้จ่ายๆ
ดังท ี่ย กเป็นตัวอย่างไว้ข ้างต้น ปัญหาข องก ารติดตามค วบคุมส ินค้าคงเหลือสามารถแ ยกเป็น 2 ประเด็น ประเด็นแรก
เป็นเรื่องท ี่เกี่ยวก ับว่าท ำอ ย่างไรจ ึงจ ะส ามารถมีสินค้าคงเหลือไว้โดยเสียค่าใช้จ่ายต่ำที่สุด หรือกล่าวอ ีกนัยหนึ่งได้ว ่า
จะต้องสั่งซื้อสินค้าค รั้งละเป็นจ ำนวนเท่าใดจ ึงจะได้ประโยชน์สูงสุด โดยส ามารถควบคุมค ่าใช้จ่ายทั้งสองป ระเภทให้
อยู่ในระดับต่ำที่สุด ประเด็นที่สอง เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับว่าจะสั่งซื้อในเวลาใดจึงจะทำให้องค์การมีสินค้าคงเหลือเพื่อ
สนองค วามต ้องการไดต้ ลอดเวลาโดยอ งค์การจ ะไมต่ ้องม สี ินค้าค งเหลือจ นม ากเกินไปห รือน ้อยจ นเกินไป ซึ่งท ำใหเ้กิด
ผลเสยี ท ั้งค ู่ วธิ ที ีจ่ ะแ กป้ ญั หาท ัง้ ส องด งั ก ล่าวอ าจท ำไดโ้ ดยใชเ้ ทคนคิ ข องร ะบบค วบคมุ ส ินค้าค งเหลือ คือ การใชเ้ทคนคิ
ของการคำนวณปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Ordering Quantity: EOQ) ในการแก้ปัญหาประเด็นแรก
และเทคนิคข องก ารคำนวณจุดส ั่งซ ื้อ (Reorder Point และ Safety Stock) ในการแก้ป ัญหาประเด็นท ี่สอง
การค ำนวณปรมิ าณการส ่ังซ ้ือท ปี่ ระหยดั (EOQ)
การค ำนวณป รมิ าณก ารส ัง่ ซ ือ้ ท ปี่ ระหยดั เปน็ เทคนคิ ในก ารค ำนวณห าป รมิ าณก ารส ัง่ ซ ือ้ ส นิ คา้ ค งเหลอื ท จี่ ะช ว่ ย
ก่อให้เกิดก ารประหยัดค่าใช้จ่ายท ั้งหมดที่เกี่ยวกับส ินค้าคงเหลือ กล่าวค ือ เราท ราบก ันว่าในการสั่งซ ื้อส ินค้าคงเหลือ
นั้น ถ้าเราสั่งครั้งละเป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อได้ แต่ในขณะเดียวกัน
ก็จ ะต ้องเสียค ่าใช้จ่ายในก ารเก็บร ักษาส ินค้าค งเหลือมากขึ้น และถ้าเราส ั่งซ ื้อสินค้าคงเหลือค รั้งละเป็นจ ำนวนน ้อย ก็
จะต้องเสียค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อมากขึ้น เนื่องจากต้องทำการสั่งซื้อเป็นจำนวนหลายครั้ง ดังนั้น จึงมีความจำเป็นที่
จะต้องคำนวณหาปริมาณส ินค้าค งเหลือท ี่จะต้องสั่งซื้อ ซึ่งเป็นปริมาณที่จะทำให้องค์การมีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา
สินค้าและค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อสินค้าที่ต่ำที่สุด ซึ่งเทคนิคการคำนวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดเป็นเทคนิคที่จะ
ช่วยให้เราหาจุดที่ค ่าใช้จ ่ายทั้งส องป ระเภทจะเกิดความส มดุลกันได้ เทคนิคดังกล่าวใช้วิธีการข องกราฟด ังภาพท ี่ 6.9
และสมการเพื่อช ่วยค ำนวณจุด EOQ ตามลำดับ และสำหรับวิธีใช้สมการจะนำก ล่าวต ่อไป
ค่าใช้จ ่าย (บาท)
ค่าใช้จ่ายท ั้งหมด (บาท)
ค่าใช้จ่ายเก็บรักษาส ินค้า
EOQ (บาท) A
เป็นจ ำนวนเงิน
ค่าใช้จ่ายในเตรียมการผ ลิตหรือค ำสั่งซื้อ
0 EOQ (หน่วย) Q (ขนาดการผ ลิต)
(ขนาดการผลิตห รือการส ั่งซ ื้อที่ประหยัดท ี่สุด)
ภาพท่ี 6.9 ขนาดก ารผ ลติ ห รือค ำส ง่ั ซ ือ้ ท ี่ประหยัดค า่ ใช้จ่ายท่สี ดุ (EOQ)
ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช