Page 264 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 264
6-36 องค์การแ ละการจัดการและการจ ัดการท รัพยากรมนุษย์
หักต ัวเลขป ระมาณก ารเงินสดท ีจ่ ะต ้องจ ่ายในร ะหว่างง วด ซึ่งห ากผ ลลัพธอ์ อกม าต ิดลบก แ็ สดงว ่าเงินสดจ ะข าดมือแ ละ
จำเป็นท ีจ่ ะต ้องจ ัดหาม าโดยว ิธตี ่างๆ เช่น กูเ้งิน หรือช ะลอก ารจ ่ายท ีไ่มจ่ ำเป็น เป็นต้น ในก รณที ีผ่ ลลัพธอ์ อกม าเป็นบ วก
จะห มายความว ่าเงินสดม ีพ อเพียงท ี่จ ะใช้ในก ารด ำเนินก ารในง วดง บป ระมาณน ั้น ตัวอย่างง บป ระมาณเงินสด แสดงไว้
ดังตารางท ี่ 6.5
ตารางที่ 6.5 ตวั อย่างงบป ระมาณเงินสด
งบประมาณเงนิ สดร บั และเงินสดจ ่าย 2,000,000 (บาท)
สิ้นสุด ธันวาคม 31, 25XX 400,000 360,000
40,000
ยอดเงินสดต้นงวด ยกมา (ธันวาคม 31, 25XX) 2,440,000
เงินสดที่คาดว่าจะได้รับ : 500,000 2,880,000
ลูกหนี้ 300,000
ขายหุ้นสามัญ 600,000 1,930,000
กู้โดยออกตั๋วสัญญาใช้เงิน 300,000 870,000
รวมเงินสดที่คาดว่าจะได้รับ 30,000
รวมเงินสดที่มีอยู่ 150,000
เงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่าย : 50,000
เจ้าหนี้
ไถ่ถอนตั๋วสัญญาใช้เงิน
เงินเดือนและค่าจ้าง
ภาษี
ดอกเบี้ย
เงินปันผล
เงินลงทุน
รวมเงินสดที่คาดว่าจะต้องจ่าย
ยอดเงินสดปลายงวด (ธันวาคม 31, 25XX)
6. จัดทำงบประมาณงบดุล เพื่อแสดงการประมาณการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ หนี้สิน และทุนของ
กิจการตอนสิ้นงวดงบประมาณว่าจะมีสถานะเปลี่ยนแปลงไปจากเมื่อตอนต้นของงวดงบประมาณอย่างไร ซึ่งตาม
ความเป็นจริงการจัดทำงบประมาณงบดุลนี้ หน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการเงินและการบัญชี จะต้องเป็นผู้ทำตาม
หน้าที่โดยตรงอยู่แล้ว หน่วยงานที่ปฏิบัติงานไม่จำเป็นต้องเข้ามายุ่งเกี่ยวมากนัก อย่างไรก็ดีมีข้อยกเว้นสำหรับบาง
รายการของงบดุล เช่น โรงงาน ที่ดิน และเครื่องจักรอุปกรณ์ ซึ่งจะประมาณก ารร ายจ ่ายเกี่ยวก ับเรื่องนี้จะเป็นห น้าที่
ของผ ู้บ ริหารร ะดับส ูงไม่ก ี่ค น เพราะเกี่ยวเนื่องก ับร ายจ ่ายจ ำนวนม ากแ ละเป็นร ะยะเวลาน าน ตัวอย่างของง บป ระมาณ
งบดุล แสดงไว้ดังตารางที่ 6.6
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช