Page 261 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 261
การต ิดตามควบคุม 6-33
Line Manager) และผ ู้จ ัดการด ้านข ายจ ะเป็นผ ู้ท ำการป ระมาณต ัวเลขข องย อดข ายเอง อย่างไรก ็ด ี เป็นท ี่ย อมรับก ันว ่า
ว ิธีท ี่ให้พ นักงานข ายป ระมาณก ารให้จ ะเป็นว ิธีท ี่ง ่ายก ว่าว ิธีท ี่ต ้องท ำการป ระมาณต ัวเลขจ ากส ภาวะแ วดล้อมต ่างๆ ของ
องค์การ ถึงแม้ว่าพนักงานขายอาจจะประมาณการไว้ต่ำ เพื่อให้ตนเองต้องสามารถทำได้ตามเป้าหมายอย่างไม่ต้อง
เหนื่อยม ากน ัก แต่ก ็อ าจแก้ได้โดยผู้บ ริหารระดับสูงป รับต ัวเลขข องพนักงานข ายให้เหมาะสมขึ้น ตัวอย่างงบประมาณ
ดังตารางที่ 6.1 และต ารางท ี่ 6.2
ตารางที่ 6.1 ตัวอย่างข องง บป ระมาณขาย
งบประมาณขาย
สน้ิ ส ุด ธันวาคม 31, 25XX
สินค้า จำนวน ราคา รวม
(หน่วย) ต่อหน่วย ยอดขายทั้งหมด
ก
ข 20,000 20 400,000
ค 30,000 30 900,000
ง 50,000 15 750,000
รวม (บาท) 5,000 50 250,000
105,000 2,300,000
ในบ างก รณี บริษัทอ าจจ ะจ ัดท ำง บป ระมาณข ายในช ่วงเวลาท ี่ส ั้นก ว่า 1 ปี และจ ัดท ำเป็นร ายเดือนเพื่อส ะท้อน
ใหเ้ห็นแ นวโน้มในก ารข ายแ ต่ละเดือนข องง วดง บป ระมาณน ั้นก ็ได้ ดังต ัวอย่างข องง บป ระมาณข ายท ีแ่ สดงก ารป ระมาณ
การเกี่ยวก ับสินค้าเป็นจ ำนวนเงินที่ข ายได้ในระยะเวลา 6 เดือนของงวดงบป ระมาณ ดังต ารางท ี่ 6.2
ตารางท ่ี 6.2 ตวั อย่างข องง บประมาณข ายรายเดือน
งบป ระมาณขาย
ระหว่าง มกราคม – มิถนุ ายน 25XX
สินค้า ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. รวม (บาท)
ก 2,000 3,000 3,500 3,200 4,000 3,800 19,500
ข 5,000 6,000 6,400 6,600 5,000 6,000 35,000
ค 4,000 3,000 4,500 3,800 4,200 4,000 23,500
ง 6,500 5,500 5,500 6,000 6,500 5,000 35,000
รวม (บาท) 17,500 17,500 19,900 19,600 19,700 18,800 113,000
2. จัดท ำง บประมาณเพื่อการจัดซื้อ (Purchase Budget) หลังจ ากท ี่ได้จัดทำงบป ระมาณข ายท ี่แสดงให้เห็น
ว่า บริษัทจะต้องจัดส่งสินค้าชนิดใดในเดือนไหนเป็นจำนวนเท่าใด ก็สามารถที่จะจัดทำงบประมาณเพื่อการจัดซื้อ
สินค้าแ ละวัตถุดิบต่อไป สำหรับบริษัทป ระเภทซื้อมาข ายไป (Merchandising) ซึ่งไม่ใช้บริษัทผู้ผ ลิตง บน ี้จะสามารถ
ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช