Page 257 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 257
การติดตามควบคุม 6-29
3. ศนู ยร์ บั ผดิ ชอบท างการเงนิ (Financial Responsibility Centers)
โครงสร้างของระบบการติดตามควบคุมจะต้องถูกออกแบบให้สอดคล้องกับโครงสร้างขององค์การซึ่งเป็น
ศูนย์ประสานทรัพยากรต่างๆ เข้าด้วยกัน โดยทั่วไปกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภายในองค์การจะอยู่ภายใต้ความ
รับผิดชอบการกำกับดูแลของผู้จัดการ และผู้จัดการหน่วยงานต่างๆ เหล่านี้จะเป็นผู้รับผิดชอบกำกับควบคุมศูนย์
รับผิดชอบต่างๆ ทั้งการติดตามควบคุมปัจจัยนำเข้า (Inputs) ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตหรือทรัพยากรที่จำเป็นต่อ
การผ ลิตแ ละป ัจจัยน ำออก (Outputs) ก็คือผ ลงานที่เกิดจ ากกิจกรรมของห น่วยงานน ั้นๆ
ในก ารก ำหนดศ ูนย์ใดเป็นศ ูนย์ค วามร ับผ ิดช อบท างการเงินจ ำเป็นต ้องม ีก ารว ัดท ั้งป ัจจัยน ำเข้า (Inputs) และ
ปัจจัยนำออก (Outputs) ที่อ ยู่ในรูปของตัวเงิน แต่ในบางครั้งจะไม่สามารถวัดปัจจัยนำเข้าและ/หรือปัจจัยนำออก
บ างต วั ในร ปู ข องต วั เงนิ ไดเ้ สมอไป จงึ ต อ้ งม กี ารแ ยกศ นู ยร์ บั ผ ดิ ช อบอ อกไปห ลายป ระเภท เชน่ ศนู ยร์ ายได้ ศนู ยร์ ายจ า่ ย
ศูนย์ก ำไร และศูนย์ลงทุน
ศูนย์รายจ่าย (Expense Center) เป็นศูนย์รับผิดชอบประเภทหนึ่งซึ่งสามารถทำการวัดปัจจัยนำเข้าเป็น
ตัวเงินห รือค ่าใช้จ ่ายท ี่เกิดข ึ้นได้ช ัดเจน แต่ไม่ส ามารถว ัดป ัจจัยน ำอ อกท ี่อ ยู่ในร ูปข องต ัวเงินได้ ศูนย์ร ายจ ่ายน ี้ส ามารถ
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ Engineered Expense Centers และ Discretionary Expense Centers โดยที่ในศ ูนย์
ต้นทุนประเภท Engineered Expense Centers ซึ่งบางทีเรียกว่า Standard Cost Centers เป็นต้นทุนหรือ
ค่าใช้จ ่ายโดยตรงท ี่เกิดข ึ้นซึ่งส ามารถว ัดห รือค าดป ระมาณได้แ น่นอนว ่าม ีค วามส ัมพันธ์ก ับป ัจจัยนำอ อกอ ย่างไร ส่วน
Discretionary Expense Centers หรือบ างค รั้งเรียกว ่า Management Cost เป็นศ ูนย์ต้นทุนด ้านก ารบ ริหาร ใน
กรณีของศูนย์ต้นทุนประเภทนี้เราไม่สามารถกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยและพัฒนา หน่วยงานด้านกฎหมาย
หน่วยง านด้านก ารบัญชี การป ระชาสัมพันธ์ และก ารเจ้าห น้าที่ เป็นต้น
ศูนย์ร ายไ ด้ (Revenue Center) เป็นศ ูนย์ร ับผ ิดช อบป ระเภทซ ึ่งจ ะม ีก ารว ัดป ัจจัยน ำอ อกในร ูปข องต ัวเงินโดย
ไม่มีค วามพยายามในก ารวัดปัจจัยน ำเข้าเป็นตัวเงิน หรือโดยไม่พยายามจะหาความส ัมพันธ์ร ะหว่างป ัจจัยนำเข้าแ ละ
ปัจจัยน ำอ อก เช่น ฝ่ายข ายข องบ ริษัท จะถ ือเป็นศ ูนย์ร ายได้ที่ว ัดป ัจจัยน ำอ อกในร ูปข องย อดข ายส ินค้าห รือย อดส ั่งซ ื้อ
อยา่ งเดยี วโดยไมค่ ำนงึ ว า่ ส นิ คา้ ด งั ก ลา่ วจ ะถ กู ส ง่ ไปย งั ล กู คา้ ห รอื ไม่ หรอื จ ะม กี ารใชจ้ า่ ยไปในก ารข ายเทา่ ใด โดยย อดข าย
หรือย อดส ั่งซื้อจ ะถ ูกน ำมาเปรียบเทียบกับง บประมาณท ี่ก ำหนดให้ท ำห รือโควตาข ายที่กำหนดไว้ให้บ รรลุ
ศูนย์กำไร (Profit Center) เป็นศ ูนย์ค วามร ับผ ิดชอบประเภทซ ึ่งจะว ัดผลการดำเนินงานข องหน่วยง านโดย
วัดท ั้งป ัจจัยนำออก (รายได้) และปัจจัยนำเข้า (ค่าใช้จ ่าย) การว ัดผลกำไรโดยการวัดทั้งป ัจจัยน ำเข้าและป ัจจัยน ำออก
ก็เพราะสามารถหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยนำเข้าและปัจจัยนำออกได้ชัดเจน โดยทั้งต้นทุนและรายได้สามารถ
ถูกวัดได้เนื่องจากอยู่ในรูปของเงินและมีความสัมพันธ์กัน หน่วยงานซึ่งอาจกำหนดเป็นศูนย์กำไร เช่น หน่วยที่
รับผ ิดชอบบริหารผลิตภัณฑ์เฉพาะตัว (Product Division) โดยผ ู้จ ัดการของห น่วยผลิตภัณฑ์นี้จ ะร ับผิดช อบเสมือน
เป็นศ ูนย์ก ำไร
ศูนย์ล งทุน (Investment Center) เป็นห น่วยง านป ระเภทซ ึ่งจ ะม ีก ารว ัดผลต อบแทนท ี่จ ะได้ร ับก ารล งทุนข อง
หน่วยง านว ่าคุ้มค ่าห รือไม่ โดยเปรียบเทียบระหว่างก ำไรท ี่ได้ร ับในปัจจุบันก ับก ำไรที่จะได้ร ับในอนาคต (Return on
Investment) เป็นการช่วยผู้จัดการศ ูนย์การลงทุนประเมินว ่าอัตราต อบแทนเงินที่ได้ลงทุนไปแล้วหรือกำลังพ ิจารณา
จะลงทุนเพิ่มนั้นมีผลตอบแทนคุ้มค่าหรือไม่ ปัจจัยนำเข้าในที่นี้จะได้แก่ เงินลงทุนในโครงการใหม่ๆ เงินลงทุนใน
เครื่องจักรอุปกรณ์ เป็นต้น โดยปัจจัยนำเข้านี้จะสร้างกำไรหรือผลตอบแทนให้แก่องค์การ ในศูนย์ลงทุนนี้ผู้บริหาร
ของศูนย์จ ะมีอ ำนาจห น้าที่ในการกำกับค วบคุมการด ำเนินงานของศ ูนย์ ทั้งรายได้ ค่าใช้จ ่าย และร วมถึงก ารตัดสินใจ
เกี่ยวก ับก ารลงทุน ซึ่งเกี่ยวก ับก ารดำเนินธุรกิจในร ะยะยาวด ้วย
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช