Page 258 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 258
6-30 องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรม นุษย์
4. การต รวจส อบทางการเงนิ (Financial Audits)
ข้อมูลทางการเงินต่างๆ ที่กล่าวไปข้างต้นจำเป็นต้องมีการตรวจสอบอย่างมีแบบแผนและหลักการอีกครั้ง
หนึ่ง เพื่อให้แน่ใจว่าข ้อมูลเหล่าน ั้นถ ูกต ้องและเป็นไปต ามนโยบายขององค์การ การตรวจสอบทางการเงินแ บ่งได้เป็น
2 ประเภท คือ
4.1 การตรวจสอบภายใน (Internal Audits) เป็นการตรวจสอบความถูกต้องในการปฏิบัติทางบัญชี
และทางการเงินในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยใช้บุคลากรภายในองค์การเป็นผู้ตรวจสอบ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะ
เป็นพนักงานในฝ่ายบัญชี แต่สำหรับองค์การขนาดใหญ่อาจจะตั้งหน่วยงานขึ้นเรียกว่าเจ้าหน้าที่ตรวจสอบภายใน
(Auditor) เพื่อใช้เวลาทั้งหมดในการตรวจสอบระบบบัญชี และตรวจสอบระบบการทำงานต่างๆ ในหน่วยงานหรือ
หน้าที่ต ่างๆ โดยเฉพาะ
4.2 การตรวจสอบจากภายนอก (External Audits) เป็นการต รวจส อบการบ ันทึกทางบ ัญชีและการเงินโดย
บุคลากรจากภายนอกองค์การที่มีความชำนาญและเชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบบัญชีโดยเฉพาะ ซึ่งการตรวจสอบนี้
จะช่วยให้ผู้บริหารองค์การมีความมั่นใจว่าการปฏิบัติทางบัญชีและการเงินเป็นไปตามวัตถุประสงค์ขององค์การและ
ยังเป็นการเพิ่มความน ่าเชื่อถือให้แก่ผ ู้ถ ือหุ้น เจ้าห นี้ และนักล งทุนที่มีต่อองค์การด้วย
กิจกรรม 6.2.2
1. อัตราสว่ นท างการเงนิ เป็นเครอื่ งม ือสำหรับก ารติดตามค วบคมุ ไดอ้ ยา่ งไร
2. การก ำหนดห นว่ ยง านต า่ งๆ เปน็ ศ นู ยค์ วามร บั ผ ดิ ช อบซ ง่ึ แ ตกต า่ งก นั ในแ ตล่ ะป ระเภทจ ะม ปี ระโยชน์
ตอ่ กจิ การอ ยา่ งไร
3. การตรวจสอบภายในโดยบุคลากรจากภายในอาจไม่ได้ผล เนื่องจากความเกรงอกเกรงใจระหว่าง
พนกั งานด ว้ ยกัน ท่านเหน็ ดว้ ยห รือไม่ จะมวี ธิ ีในการป ้องกนั เรอ่ื งน้อี ย่างไร
แนวต อบกิจกรรม 6.2.2
1. อตั ราส่วนท างการเงินเปน็ เครอ่ื งม อื ช่วยต รวจสอบผ ลก ารดำเนนิ งานในดา้ นตา่ งๆ ได้ เชน่ ด้านการ
บรหิ ารเงนิ สด การบ รหิ ารล กู ห น้ี การบ รหิ ารส นิ คา้ ค งเหลอื และก ารส รา้ งผ ลก ำไร ซง่ึ เปน็ ม าตรว ดั ท สี่ ำคญั ส ำหรบั
ระดบั กำกบั ค วบคมุ ง านบริหารวา่ จ ะสามารถก ำกับใช้ทรพั ยากรเพอื่ ก ารด ำเนินการในด้านต่างๆ ไดด้ เีพยี งใด
2. การกำหนดหน่วยงานต่างๆ โดยจำแนกเป็นศูนย์รับผิดชอบตามลักษณะต่างๆ ช่วยให้สามารถเน้น
วดั ผลก ารด ำเนินงานข องหนว่ ยง านต า่ งๆ ในอ งค์การไดอ้ ยา่ งเหมาะสมย ง่ิ ข้ึน
3. การตรวจสอบภายในเป็นเครื่องมือสำคัญของฝ่ายบริหาร ซ่ึงหากมีการดำเนินการอย่างต่อเน่ือง
สม่ำเสมอจะช่วยเป็นเครื่องมือตรวจสอบการดำเนินการที่จะเกิดข้อผิดพลาดและเป็นระบบเตือนภัยล่วงหน้าให้
กับองค์การ หากถูกนำมาใช้อย่างเป็นท่ีเข้าใจของทุกฝ่ายก็จะช่วยสนับสนุนการดำเนินงานให้เกิดผลดี ปัญหานี้
เพยี งว่าจะส ามารถสร้างค วามย อมรับและค วามเขา้ ใจของฝ า่ ยต่างๆ ใหเ้ ห็นถึงป ระโยชน์ไดห้ รือไมเ่ ท่านน้ั
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช