Page 254 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 254
6-26 องค์การและก ารจัดการและก ารจัดการท รัพยากรม นุษย์
1.3 การต ดิ ตามค วบคมุ ค ณุ ภาพโดยส ถติ ิ (Statistical Quality Control: SQC) เปน็ การต รวจส อบค ณุ ภาพ
โดยใช้เทคนิคท างส ถิติซึ่งม ีขั้นตอนดังนี้
1.3.1 Acceptance Sampling เป็นการตรวจสอบสินค้าโดยการสุ่มหยิบสินค้าขึ้นมาหลังจาก
ผ่านขั้นตอนต่างๆ ในกระบวนการผลิตมาเรียบร้อยแล้ว เพื่อทำการทดสอบโดยจะมีการกำหนดระดับการยอมรับ
คุณภาพไว้ในระดับห นึ่งเพื่อให้แน่ใจว ่าได้มาตรฐานตามท ี่กำหนดไว้
1.3.2 In-Process Sampling จะเป็นการตรวจสอบสินค้าที่อยู่ระหว่างกระบวนการผลิต โดย
การสุ่มหยิบสินค้าขึ้นมาทดสอบคุณภาพ ถ้าพบว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นจะมีการแก้ไขทันทีก่อนที่จะออกมาเป็นสินค้า
สำเร็จรูป ตัวอย่างเช่น บริษัทผลิตน้ำยาปลูกผม มีการตรวจสอบความเข้มข้นของน้ำยาเคมีก่อนที่จะผสมกับส่วน
ประกอบอื่นๆ แต่ถ้าพบว่าน้ำยานั้นมีระดับความเข้มข้นไม่ได้มาตรฐานจะต้องรีบแก้ไขให้เป็นปกติดังเดิมทันที
จะเห็นได้ว่าประโยชน์ของการตรวจสอบโดยการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีนี้ช่วยป้องกันปัญหาก่อนที่จะเกิดความเสียหาย
มากไปก ว่าเดิม
2. การติดตามควบคุมสินค้าคงเหลือ (Inventory Control) เป้าหมายของการติดตามควบคุมสินค้า
ค งเหลือ คือก ารร ักษาร ะดับข องว ัตถุดิบห รือส ินค้า (ทั้งก ึ่งส ำเร็จรูปแ ละส ำเร็จรูป) ใหม้ เีพียงพ อต ่อค วามต ้องการใชห้ รือ
ความต ้องการของตลาดโดยมีต้นทุนท ี่ต ่ำที่สุด การต ิดตามค วบคุมส ินค้าคงเหลือเป็นเรื่องที่สำคัญต่อธุรกิจ เนื่องจาก
เงินท ุนจ ำนวนม ากต ้องม าจ มก ับร ายการน ีใ้นแ ต่ละป ี การม รี ะดับส ินค้าค งเหลือม ากเกินไปจ ะเป็นการส ูญเสียท รัพยากร
ไปแ ทนทีจ่ ะน ำเงินน ั้นไปใช้ห มุนเวียนใหเ้กิดป ระโยชน์ในท างอ ื่น ปัจจุบันม กี ารศ ึกษาว ่าค วรม กี ารต ิดตามค วบคุมส ินค้า
คงเหลือในก ระบวนการผ ลิตและในแ ต่ละประเภทข องส ินค้าค งเหลือ ซึ่งจ ะนำกล่าวในต อนท ี่ 6.3 เรื่องที่ 6.3.2 เทคนิค
การติดตามค วบคุมสินค้าคงเหลือ
วัตถุประสงค์ของการติดตามควบคุมสินค้าคงเหลือ คือสินค้าคงเหลือทั้ง 4 ประเภท คือ วัตถุดิบ สินค้า
กึ่งสำเร็จรูป สินค้าสำเร็จรูป และสินค้าที่อยู่ระหว่างการขนส่งไปให้ลูกค้า ก็เพื่อให้มีจำนวนที่ถูกต้องตรงตามเวลาที่
ต้องการใช้และในสถานที่ที่ลูกค้าต้องการโดยมีต้นทุนต่ำที่สุด โดยยังคงต้องเก็บสินค้าสำรองไว้ในคลังสินค้า แต่ใน
บางอ งค์การเริ่มห ันม าใช้ก ารต ิดตามค วบคุมส ินค้าค งเหลือแ บบใหมต่ ามแ นวทางข องญ ี่ปุ่น นั่นค ือ การต ิดตามค วบคุม
สนิ คา้ ค งเหลอื แ บบท นั เวลาพ อดี (Just-in-time Inventory Control: JIT) ซึง่ เปน็ ว ธิ ที พี่ ยายามม ใิ หม้ วี ตั ถดุ บิ ห รอื ส นิ คา้
คงค้างอยู่ในคลังสินค้าเลย หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ มีสินค้าคงเหลือเท่ากับศูนย์นั่นเอง แต่ละครั้งจะสั่งซื้อตาม
จำนวนท ี่ต ้องการใช้ ไม่มีการเก็บสำรองไว้ในค ลังสินค้า ทำให้การสั่งซ ื้อส ินค้ากระทำครั้งล ะจ ำน วนน้อยๆ โดยมีจ ำนวน
ครั้งท ี่สั่งถี่ขึ้น ซึ่งว ิธีน ี้จ ะช่วยให้องค์การล ดค่าใช้จ ่ายในด้านพื้นที่เก็บร ักษาส ินค้าได้อย่างม าก
3. การต ิดตามค วบคุมท างการต ลาด (Marketing Research) ธุรกิจต ่างก ม็ กี ารใชเ้ทคนิคก ารต ิดตามค วบคุม
ทางการต ลาดเพื่อให้แน่ใจว ่าสินค้าและบ ริการของก ิจการเป็นท ี่น่าพอใจของล ูกค้ากลุ่มเป้าห มาย ขณะเดียวกันก ็ต้อง
ศึกษาก ารเปลี่ยนแปลงข องส ภาพแ วดล้อม ทัศนคติ และพ ฤติกรรมข องผ ู้บริโภค เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำแ ผน
กลยุทธ์ต่างๆ เทคนิคการต ิดตามควบคุมทางการต ลาดที่ใช้เพื่อป้องกันปัญหาแ ละตรวจส อบการป ฏิบัติงาน ได้แก่
3.1 การวิจัยตลาด (Marketing Research) เป็นการรวบรวมข้อมูลทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรรม
การแ ข่งขัน ประชากรศาสตร์ ภูมิศาสตร์ และท างจ ิตวิทยา และน ำข ้อมูลเหล่าน ี้ม าว ิเคราะห์ท างการต ลาด ซึ่งจ ะช ่วยให้
ผู้วางแผนกำหนดได้ว ่าลูกค้าต้องการอะไร ตลาดมีศักยภาพแค่ไหน จะว างตำแหน่งท างการต ลาดอย่างไร ทั้งนี้ก็เพื่อ
ให้สินค้าและบริการสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ตรงจุด การติดตามควบคุมทางการตลาดด้วยวิธีนี้
จะเป็นการเพิ่มความมั่นใจก่อนที่จะตัดสินใจลงทุนในธุรกิจหรือสินค้าตัวใดตัวหนึ่ง การวิจัยตลาดสามารถทำโดย
การสอบถามทางโทรศัพท์ จดหมายตอบรับ หรือการส อบถามจากก ลุ่มลูกค้าเป้าหมายโดยตรง
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช