Page 252 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 252
6-24 องค์การและการจ ัดการและการจ ัดการทรัพยากรมนุษย์
เรื่องท่ี 6.2.1
การต ิดตามควบคุมท างการบ ริหาร
โดยท ั่วไปน ักว ิชาการจ ะจำแนกก ารบริหารอ อกเป็น 3 ระดับ คือ
1. ระดับการว างแผนแ ละก ารติดตามควบคุมกลยุทธ์ (Strategic Control)
2. ระดับก ารติดตามควบคุมงานบ ริหาร (Managerial Control)
3. ระดับก ารติดตามควบคุมปฏิบัติการ (Operational Control)
ในเรื่องท ี่ 6.2.1 จะน ำก ล่าวถ ึงห น้าที่ค วามร ับผ ิดช อบข องน ักบ ริหารซ ึ่งท ำห น้าที่ในต ำแหน่งต ่างๆ ในร ะดับก าร
ติดตามค วบคุมง านบ ริหาร เพื่อให้เห็นแ ละท ราบห น้าที่แ ละค วามร ับผ ิดช อบข องผ ู้บ ริหารร ะดับน ี้ แต่ก ่อนท ี่จ ะก ล่าวถ ึง
เรื่องนี้ขอนำฉายภาพของหน้าที่และความรับผิดชอบของระดับการวางแผนกลยุทธ์และระดับการติดตามควบคุม
ปฏิบัติก ารเพื่อให้เกิดค วามเข้าใจ และส ามารถส ร้างม โนภาพท ี่ถ ูกต ้องเกี่ยวก ับก ารต ิดตามค วบคุมในร ะดับก ารบ ริหาร
ต่างๆ ได้อ ย่างชัดเจนต่อไป
1. ระดับก ารว างแผนและก ารตดิ ตามกลยทุ ธ์ (ระดับส ูง)
การวางแผนและการติดตามควบคุมกลยุทธ์ เป็นเรื่องของการสร้างและ/หรือมีมาตรวัดเพื่อตรวจสอบและ
ตดิ ตามส ภาวะแ วดลอ้ มท อี่ าจเปลีย่ นแปลงแ ละม ผี ลต อ่ ก ารด ำเนนิ ง านข องอ งคก์ าร โดยท ัว่ ไปส ภาวะแ วดลอ้ มจ ะอ ยเู่ หนอื
การติดตามควบคุมและมีความไม่แน่นอนสูง การติดตามควบคุมตรวจสอบจึงต้องทำอย่างเป็นระบบและมี
ความต่อเนื่อง สภาวะแวดล้อมในระดับนี้จะรวมถึง ภาวะการแข่งขัน การเจริญเติบโตของตลาด การเปลี่ยนแปลง
ของสัดส่วนประชากร สภาพเศรษฐกิจ ภาวะเงินเฟ้อ การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอุตสาหกรรมแ ละการแข่งขัน
การเปลี่ยนแปลงท างเทคโนโลยี นโยบายข องร ัฐบาล และก ารป รับแ ก้ไขก ฎหมายเพื่อน ำไปส ูก่ ารค ้าเสรี เป็นต้น ผูบ้ ริหาร
ในร ะดับน ีจ้ ึงต ้องม คี วามร ูค้ วามเข้าใจแ ละส ามารถว ิเคราะห์แ นวโน้มข องธ ุรกิจแ ละอ ุตสาหกรรมในอ นาคต และน ำภ าพ
ความเข้าใจท ี่ได้ม าก ำหนดเป็นวิสัยท ัศน์ (Vision) และกลยุทธ์ (Strategy) เพื่อใช้เป็นแนวทางห ลักในการด ำเนินการ
ขององค์การมีการเจริญเติบโตและความอยู่รอดอย่างยั่งยืนในระยะยาวและมีผลกำไร แนวทางหลักที่กำหนดใช้ใน
ระดับนี้จะถ ูกน ำไปแ ปรเป็นร ูปธรรมในเชิงแผนงานด้านต่างๆ ของฝ ่ายห รือแ ผนกต่างๆ ในอ งค์การต่อไป และจ ะเป็น
หน้าที่ของระดับการติดตามควบคุมงานบริหาร (Management Control) ซึ่งจะต้องรับผิดชอบในการแปรแนวทาง
ก ารด ำเนินง านข ององค์การด ังก ล่าวให้เป็นแผนงานต ่างๆ เพื่อให้เกิดค วามสอดคล้องกับแนวทางห ลักท ี่ได้กำหนดขึ้น
2. ระดบั ก ารติดตามควบคมุ ป ฏบิ ตั กิ าร (ระดับต น้ )
ในร ะดับนี้ห ากมองในเชิงของห น้าที่ก ารวางแผนก็ค ือการวางแผนในระดับป ฏิบัติการ (Action Plan) นั่นเอง
เมื่อมองในด้านการติดตามควบคุม หรือการติดตามควบคุมปฏิบัติการ (Operational Control) จะเป็นหน้าที่และ
ความรับผิดชอบด้านการติดตามควบคุมซึ่งมุ่งตรวจสอบการดำเนินงานต่างๆ ในภาคปฏิบัติให้เป็นไปตามแนวทาง
ของแ ผนง านต ่างๆ ที่ว างไว้ การต ิดตามค วบคุมในร ะดับน ี้จ ะค ำนึงถ ึงก ารใช้ท รัพยากรข องอ งค์การให้เกิดป ระสิทธิภาพ
สูงสุด และจะต้องก ระทำอ ย่างต ่อเนื่องส ม่ำเสมอ นักบริหารผ ู้รับผิดชอบในร ะดับนี้จะต้องม ีหน้าที่ความร ับผิดชอบใน
การก ำหนดเกณฑ์ม าตรฐาน กฎร ะเบียบ วิธีป ฏิบัติต ่างๆ เพื่อใช้ว ัดผลแ ละก ำกับก ารด ำเนินง านแ ละน ำใช้เทคนิคในก าร
ติดตามค วบคุมป ฏิบัติก ารต ่างๆ เช่น Bar Chart, PERT / CPM, Loading และ Scheduling เพื่อให้เกิดป ระสิทธิภาพ
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช