Page 248 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 248
6-20 องค์การแ ละก ารจัดการและก ารจ ัดการท รัพยากรมนุษย์
เร่อื งที่ 6.1.4
ความส ำคญั ของก ารต ิดตามค วบคุมต ่อก ารวางแผน
ขัน้ ต อนห รือก ระบวนการต ิดตามค วบคุมท ีก่ ล่าวไวใ้นเรื่องท ี่ 6.1.2 เปน็ ส ิ่งส ำคัญท ีจ่ ะป ระกนั ค วามส ำเร็จใหก้ ับ
องค์การ และส ามารถน ำม าใช้ไดก้ ับก ิจกรรมท ุกช นิด ทุกขน าด ไมว่ ่าจ ะเกี่ยวก ับด ้านก ารผ ลิต การเงิน และก ารใหบ้ ริการ
ในเรื่องความสำคัญของการติดตามควบคุมนั้น แม้ว่าคนส่วนมากจะมีทรรศนะต่อการติดตามควบคุมไปในลักษณะ
ทีเ่ป็นไปในท างล บ เช่น มองว ่าการต ิดตามค วบคุมม ไีวเ้พื่อค วบคุมพ ฤติกรรมข องค น หรือเป็นก ิจกรรมท ีต่ ้องส ิ้นเปลือง
ค่าใช้จ ่ายเป็นจ ำนวนม ากอ ันไม่จ ำเป็น แต่ก ็ย ังม ีพ วกท ี่เห็นว ่า การติดตามค วบคุมเป็นส ิ่งท ี่ข าดม ิได้ ถ้าอ งค์การต้องการ
บรรลุวัตถุประสงค์ท ี่ต ั้งไว้ เช่นท ี่ Newman ได้ช ี้ค วามส ำคัญข องการต ิดตามค วบคุมในแง่ส ร้างสรรค์ไว้ดังนี้
1. การต ิดตามค วบคมุ เปน็ ส ิ่งจ ำเปน็ แ ละเปน็ ส ิง่ ส ร้างสรรคส์ งั คม ดงั เห็นไดว้ า่ ร ะบบก ารต ิดตามค วบคุมไดถ้ ูก
นำม าใช้เพื่อกิจกรรมอันเป็นการส ร้างสรรค์สิ่งท ี่ดีให้ก ับสังคมเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจ ะเป็นระบบการติดตามควบคุมที่
มนุษยใ์ชเ้พื่อก ารส ่งย านอ วกาศอ อกไปศ ึกษาห าข ้อมูลท ีจ่ ะเป็นป ระโยชนต์ ่อก ารพ ัฒนาส ังคมข องม วลม นุษย์ หรือร ะบบ
ตรวจส อบท ี่แพทย์ใช้เพื่อก ารให้การบ ำบัดแ ละร ักษาผ ู้ป่วย เป็นต้น ระบบค วบคุมท ี่นำม าใช้ด ังก ล่าวล ้วนเป็นส ิ่งจ ำเป็น
และสิ่งสร้างสรรค์ให้กับส ังคมท ั้งสิ้น
2. การติดตามควบคุมที่ได้ประสิทธิผลช่วยเป็นสิ่งชี้บอกแนวทางให้กับพฤติกรรมของคนโดยช่วยชี้บอก
แนวทางแ ละช ่วยให้เกิดก ารป ระสมป ระสานพ ฤติกรรมซ ึ่งแ ตกต ่างก ันข องแ ต่ละบ ุคคลใหอ้ ยูใ่นก รอบข องว ัตถุประสงค์
อันเป็นส ิ่งที่ทุกค นพยายามที่จ ะทำให้บ รรลุส ู่ผลส ำเร็จ
3. ระบบก ารต ิดตามค วบคุม ทำห น้าที่ในก ารเป็นต ัวท ี่ช ่วยช ี้บ อกป ัญหา โดยช ่วยเป็นเครื่องม ือในก ารว ัดแ ละ
ตรวจส อบผ ลง านอ ยา่ งส มำ่ เสมอ ทำใหส้ ามารถท ราบป ญั หาท จี่ ะเกดิ ข ึน้ ไดล้ ว่ งห นา้ และท ำใหส้ ามารถแ กไ้ ขห รอื ป รบั ปรงุ
สถานการณ์ให้ค งม ุ่งส ู่แ นวทางแห่งว ัตถุประสงค์ที่วางไว้
4. ระบบก ารต ิดตามค วบคุมท ีม่ ปี ระสิทธิภาพช ่วยใหอ้ งค์การส ามารถแ ก้ไขป ัญหาค วามไมแ่ น่นอนท ีอ่ งค์การ
ต้องเผชิญอยู่ได้ โดยการเป็นตัวช่วยพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงลักษณะต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นก่อนที่การเปลี่ยนแปลง
นั้นๆ จะเกิดขึ้นจริง เช่น สามารถบอกให้ทราบได้ว่า ยอดขายหรือยอดการผลิตกำลังเคลื่อนไหวหรือเป็นไปใน
แนวโน้มที่เคลื่อนตามส ภาวะข ึ้นลงข องร ะบบเศรษฐกิจ ในกรณีน ี้ก ็จ ะทำให้องค์การส ามารถแก้ไขการข ึ้นล งน ั้นให้เป็น
ไปในแ นวทางท ี่ม ั่นคงขึ้นได้
จากความสำคัญของการติดตามควบคุมที่กล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่าหน้าที่ด้านการติดตามควบคุมมีความ
สัมพันธ์ก ับห น้าที่ด้านอื่นๆ ของการจัดการ แต่กล่าวสำหรับการต ิดตามค วบคุมกับก ารว างแผนน ั้นจะมีค วามส ัมพันธ์
กันอ ย่างใกล้ช ิดม ากเป็นพ ิเศษ กระทั่งม ีก ารใช้ค ำส องค ำน ี้แ ทนก ันบ ่อยๆ โดยเฉพาะในบ ริษัทท ี่ม ีห น่วยง านซ ึ่งท ำห น้าที่
เกี่ยวข้องก ับก ารวางแผน (Planning) การกำหนดต ารางเวลาการดำเนินงาน (Scheduling) และก ารว างเส้นท างเดิน
ของง านด ้านการผลิต (Routing) ซึ่งม ักจ ะเรียกหน่วยง านที่ท ำหน้าที่ด ังก ล่าวนี้ว่า “ฝ่ายวางแผนก ารผ ลิต” หรือ “ฝ่าย
ควบคุมก ารผลิต” อย่างห นึ่งอ ย่างใด
การว างแผนก ับก ารต ิดตามค วบคุมม ีค วามส ัมพันธ์ก ันโดยใกล้ช ิดเพราะก ารว างแผนเป็นการม องอ อกไปข ้าง
หนา้ ส อู่ นาคต สว่ นก ารต ดิ ตามค วบคมุ เปน็ การต รวจส อบอ ดตี ท ผี่ า่ นม า ซึง่ ท ัง้ ส องห นา้ ทีน่ สี้ ามารถใหห้ รอื ใชเ้ ปน็ แ นวทาง
ในก ารต ัดสินปัญหาต ่างๆ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันกับนักบ ริหารได้เป็นอย่างด ี
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช