Page 243 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 243

การต​ ิดตาม​ควบคุม 6-15

3. การเ​ปรียบเ​ทยี บ​ผลง​ านก​ บั ม​ าตรฐาน

       วัตถุประสงค์​ของ​ขั้น​นี้​ก็​เพื่อ​ทำการ​เปรียบ​เทียบ​ผล​งาน​ที่​ได้​ทำ​มา​กับ​ผล​งาน​ที่​คาด​ว่า​จะ​ได้​รับ ทั้งนี้​ไม่​เพียง​
แต่​เพื่อ​เป็นการ​ค้นหา​ข้อ​ผิด​พลาด​เท่านั้น แต่​ยัง​เป็นการ​ช่วย​ให้​นัก​บริหาร​สามารถ​พยากรณ์​ปัญหา​ที่​อาจ​เกิด​ขึ้น​ได้​ใน​
อนาคตด​ ้วย ดังน​ ั้น ความค​ ิดท​ ี่ว​ ่าการต​ ิดตามค​ วบคุมเ​ป็นเ​พียงก​ ารเ​ปรียบเ​ทียบผ​ ลง​ านท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นก​ ับผ​ ลง​ านท​ ี่ค​ าดห​ มาย​
ไว้​นั้น​เป็น​ความ​คิด​ที่​ผิด เพราะ​หาก​รอ​จนถึง​ขั้น​นี้​อาจ​จะ​สาย​เกิน​แก้​แล้ว​ก็ได้ ดัง​นั้น จึง​ควร​เน้น​ที่​การ​ทำนาย​ผลลัพธ์​
ของ​ผล​งาน​กับ​มาตรฐาน​ได้​อย่าง​ดี​อาทิ การ​เปรียบ​เทียบ​โดย​ใช้​อัตราส่วน (Ratio) เส้น​กราฟ​แสดง​แนว​โน้ม สมการ​
คณิตศาสตร์ และแ​ ผนภูมิ​เวลา เป็นต้น

4. การด​ ำเนินก​ ารแ​ กไ้ ข

       การ​ดำเนิน​การ​แก้ไข​เป็น​สิ่ง​ที่​ต้อง​กระทำ​เป็น​ขั้น​ตอน​สุดท้าย​หลัง​จาก​ที่​ได้​มี​การ​รายงาน​ว่า​มี​ข้อ​ผิด​พลาด​หรือ​
การเ​บี่ยงเ​บนไ​ปจ​ ากม​ าตรฐานแ​ ล้ว ในก​ รณีน​ ี้จ​ ะต​ ้องม​ ีก​ ารด​ ำเนินก​ ารเ​พื่อท​ ี่จ​ ะข​ จัดป​ ัญหาก​ ารเ​บี่ยงเ​บนไ​ปจ​ ากม​ าตรฐาน
โดย​การ​แก้ไข​ข้อ​บกพร่อง​ที่​เป็น​สาเหตุท​ ำให้​เกิด​การ​เบี่ยง​เบน​ขึ้น เช่น แก้ไข​มาตรฐาน หรือแ​ ก้ไข​แผน​และ/หรือ การ​
ดำเนิน​งาน เป็นต้น ใน​การ​ดำเนิน​การ​แก้ไข​ข้อ​บกพร่อง​นี้ ปัญหา​ที่​นัก​บริหาร​มัก​จะ​ประสบ​อยู่​เสมอ​มี​อยู่ 2 ประการ​
ด้วยก​ ัน คือ

       1. 	 การท​ ำการแ​ ก้ไขข​ ้อบ​ กพร่อง​โดย​ไม่จ​ ำเป็น (หรือ​เมื่อ​ยังไ​ม่ถ​ ึงเ​วลา) ซึ่ง​เป็นผ​ ลส​ ืบเ​นื่องม​ าจ​ าก​การ​หาส​ าเหตุ​
ที่​ไม่​ตรง​กับค​ วามเ​ป็น​จริง (หรือท​ ี่ไ​ม่ใช่ส​ าเหตุ​แท้จริง)

       2. 	 การ​ไม่​ได้​ทำการ​แก้ไขข​ ้อ​บกพร่องเ​มื่อ​เกิด​สถานการณ์จ​ ำเป็น (หรือเ​มื่อ​มี​ความต​ ้องการ​ขึ้น)
       เหล่า​นี้​เป็น​หน้าที่​ของ​นัก​บริหาร​จะ​ต้อง​ศึกษา​ว่า ผลลัพธ์​ของ​การ​ตัดสิน​ใจ​ใน​แต่ละ​ปัญหา​ดัง​กล่าว​จะ​เป็น​
อย่างไร อย่างไรก​ ็ด​ ี​ระบบ​ของก​ าร​ติดตาม​ควบคุมท​ ี่​ดี​ควรท​ ี่จ​ ะ​บอก​ให้​ทราบด​ ้วย​ว่าผ​ ล​งานข​ อง​การต​ ัดสินใ​จใ​น​ลักษณะ​
แต่ละล​ ักษณะ​จะเ​กิด​ผลอย​ ่าง​ไร
       สำหรับ​การ​แก้ไข​ปัญหา​ทั้งส​ อง​ข้างต​ ้น​นั้น อยู่​ที่ค​ วาม​สามารถท​ ี่​จะแ​ ยกลางเ​หตุ (Symptom) ออก​จากม​ ูล​เหตุ
(Causes) ที่แท้​จริงใ​ห้ไ​ด้ สำหรับ​นัก​บริหาร​แล้วก​ าร​แยก​สิ่ง​ทั้ง​สองจ​ ากก​ ัน​ให้​ได้​จึง​เป็น​สิ่ง​สำคัญ เช่น จะ​ต้อง​ทราบ​ว่า​
เมื่อ​ค่า​ใช้​จ่าย​ใน​การ​ดำเนิน​การ​เพิ่ม​สูง​กว่า​ปกติ​นั้น​จะ​ไม่​แก้​โดย​การ​ลด​ค่า​ใช้​จ่าย​ลง​แต่​อย่าง​เดียว เพราะ​มูล​เหตุ​ที่แท้​
จริง​อาจ​จะ​มา​จาก​ผลป​ ฏิบัติง​ านข​ อง​พนักงาน​ก็ได้ ดังน​ ั้น จึง​อาจ​ต้อง​ทำการแ​ ก้ไข​การป​ ฏิบัติ​งาน​ด้วย เป็นต้น

  กจิ กรรม 6.1.2
         การว​ ัดผลง​ านเ​ปน็ ส​ ่งิ ​สำคัญห​ รือ​ไม่ ข้อพ​ จิ ารณา​ใน​การว​ ัดผล​งาน​ม​อี ะไรบ​ า้ ง

  แนวต​ อบก​ ิจกรรม 6.1.2
         การ​วัดผล​งาน​เป็น​ส่ิง​สำคัญ​และ​จำเป็น​ของ​กระบวนการ​ติดตาม​ควบคุม อาจ​กล่าว​ได้​ว่า​เป็น​ข้ัน​ตอน​ที่​

  ต้องเ​สยี เ​วลาแ​ ละค​ ่าใ​ชจ้​ ่ายม​ ากท​ สี่ ดุ เพราะเ​ป็นเ​ร่อื งข​ อง​ การตรวจ​ สอบด​ ว​ู า่ ง​ านด​ ำเนนิ ไ​ปต​ ามม​ าตรฐานแ​ ละ/​หรือ​
  เป้าห​ มาย​ทีก​่ ำหนด​หรือไ​ม่

         ขอ้ พ​ จิ ารณาม​ ด​ี งั ต​ อ่ ไ​ป​น้ี
         1) 	วิธก​ี ารท​ ่ี​จะน​ ำม​ าใ​ช้​วดั ผล
         2) 	จะว​ ดั ​อะไร
         3) 	จะว​ ัดอ​ ย่างไร
         4) 	จะว​ ัดเ​มื่อ​ใด

                              ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   238   239   240   241   242   243   244   245   246   247   248