Page 238 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 238
6-10 องค์การแ ละก ารจัดการและก ารจ ัดการทรัพยากรมนุษย์
กับการพยายามที่จะหาสูตรวิเศษที่จะมาใช้ตัดสินปัญหาต่างๆ ขององค์การได้ทุกชนิด ซึ่งทำให้ดูเป็นการไม่สมเหตุ
สมผ ล ดังน ั้น องค์การค วรท ี่จ ะก ำหนดว ัตถุประสงค์ในท ุกๆ ด้านท ี่จ ะส ่งผ ลกร ะท บโดยตรงต ่อค วามอ ยู่ร อดแ ละค วาม
เติบโตแ บบย ั่งยืนในระยะย าวขององค์การ” ทั้งนี้ Drucker ได้ร ะบุเนื้อหาต่างๆ ซึ่งควรก ำหนดไว้ในวัตถุประสงค์รวม
8 ด้าน คือ
1. การก ำหนดจุดยืนหรือส่วนแบ่งด ้านการต ลาด (Market Product Standing)
2. การวิจัยแ ละพ ัฒนาสิ่งใหม่ๆ หรือนวัตกรรม (Innovation)
3. ผลิตภาพ ผลผลิต (Productivity) ในแ ง่ป ระสิทธิภาพและค ุณภาพ
4. ทรัพยากรทางกายภาพและท างการเงิน (Physical and Financial Resource)
5. ผลก ำไร (Profitability) ที่ต้องการ
6. ผลที่คาดหมายด ้านก ารพัฒนาการบ ริหาร (Management Performance and Development)
7. ผลการป ฏิบัติง านและทัศนคติของค นงาน (Worker Performance and Attitude)
8. ความรับผิดช อบต่อส าธารณะ (Public Responsibility)
หลังจ ากได้จ ัดต ั้งว ัตถุประสงคใ์ห้ค รอบคลุมด ้านต ่างๆ ข้างต ้นแ ล้ว ก็ค วรม ีก ารแ จ้งว ัตถุประสงคข์ องอ งค์การ
เพื่อให้พ นักงานทุกค นได้ท ราบอย่างช ัดเจนแ ละถ ือปฏิบัติไปในแนวเดียวกัน
เกณฑก์ ารกำหนดว ัตถุประสงค์
ในการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ดีนั้น นอกจากที่ควรมีวัตถุประสงค์ในด้านต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ยังมี
หลักเกณฑ์ที่จ ะต้องค ำนึงถึงเมื่อพ ิจารณาเกี่ยวก ับการก ำหนดว ัตถุประสงค์ด ้วย คือ
1. ควรกำหนดวัตถุประสงค์ที่สามารถทำได้ กล่าวคือ ไม่ใช่กำหนดไว้เพื่อให้เป็นการท้าทายความสามารถ
ของน ักบริหารหรือพนักงานเท่านั้นแต่จะต้องทำให้ส ำเร็จได้ด้วย
2. ควรก ำหนดว ตั ถปุ ระสงคท์ สี่ ามารถว ดั ได้ เชน่ การก ำหนดว ตั ถปุ ระสงคว์ า่ บ รษิ ทั ม แี ผนจ ะข ยายฐ านล กู คา้ ส ู่
ภูมิภาคยุโรปและอ เมริกาภ ายใน พ.ศ. 2555 การกำหนดวัตถุประสงค์อย่างล อยๆ ทำให้เราไม่ส ามารถวัดได้ว ่าเราท ำได้
สำเร็จหรือไม่ ดังน ั้น จึงค วรก ำหนดเป็นต ัวเลข เช่น อัตราส่วน จำนวน เปอร์เซ็นต์ และอื่นๆ ให้มากที่สุด
3. ควรก ำหนดวัตถุประสงค์ให้มีขอบเขตจ ำกัดของร ะยะเวลา โดยอ าจก ำหนดร ะยะเวลาเป็น 1 ปี 5 ปี หรือ
10 ปี หรือตามความเหมาะสม ทั้งนี้ก็เพื่อมิให้วัตถุประสงค์ถูกกำหนดไว้ลอยๆ โดยไม่ทราบว่าจะต้องทำให้สำเร็จ
เมื่อใ ด
4. ควรทำให้วัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นได้รับการยอมรับโดยบุคคลที่เกี่ยวข้อง ในความเป็นจริงพฤติกรรม
ของบ ุคคลเป็นส ิ่งส ำคัญต ่อระบบการติดตามควบคุมยิ่งกว่าองค์ประกอบด ้านอื่นๆ เช่น การวัดผลงาน หรือก ารจ ัดท ำ
รายงาน ทั้งนี้เพราะหากค นมีพ ฤติกรรมที่ไม่ให้ค วามร ่วมมือด้วยแล้ว ผลลัพธ์ก็จะล้มเหลว ลองน ึกภาพของสัญญาณ
เตือนอ ัคคภี ัยซ ึ่งท ำการเตือนภ ัยให้ท ราบ ว่าจ ะม ปี ระโยชน์อ ย่างไรเมื่อพ นักงานด ับเพลิงท ำเพิกเฉย ดังน ั้น จึงต ้องแ น่ใจ
ว่าจ ะไม่มพี ฤติกรรมข องบ ุคคลท ี่แ สดงพ ฤติกรรมแ ตกต ่างอ อกไปจ ากท ีค่ าดห วังไว้ ดังน ั้นเพื่อเป็นการป ้องกันส ิ่งท ีค่ วร
กระทำก็คือก ารทำให้เกิดผลแ ห่งก ารยอมรับในวัตถุประสงค์
การทำให้บุคคลยอมรับในวัตถุประสงค์ ก็อาจที่จ ะต ้องทำการเปลี่ยนแปลง ดังนี้
1. แบ่งย่อยวัตถุประสงค์ที่กำหนดขึ้นให้เป็นวัตถุประสงค์ย่อย เพื่อให้เหมาะสมกับที่จะเป็นวัตถุประสงค์
ของบ ุคคลได้ หรือ
2. ปรับแต่งก ารจัดรูปง าน หรือ
3. ทำทั้งส องว ิธีพร้อมก ัน
ลขิ สิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช