Page 234 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 234
6-6 องค์การและก ารจัดการและก ารจ ัดการท รัพยากรมนุษย์
เรอ่ื งท่ี 6.1.1
ลกั ษณะแ ละอ งคป์ ระกอบข องร ะบบการติดตามควบคมุ
ในการจ ัดการหรือก ารบริหารอ งค์ก ารใดๆ นั้น สิ่งที่นักการจัดการห รือน ักบ ริหารส่วนใหญ่ม ักจะม ีค วามเห็น
ขัดแย้งเสมอก็คือ ความคิดที่ว่ามีวิธีการจัดการหรือการบริหารที่ดีที่สุดวิธีเดียวที่สามารถใช้ได้กับสถานการณ์ทุก
สถานการณ์ อย่างไรก็ดีมีสิ่งหนึ่งที่นักบริหารหรือนักการจัดการขององค์การทุกลักษณะและรูปแบบที่มักจะเห็นพ้อง
กันเสมอค ือ การย อมรับว ่าการบ ริหารท ี่ด ีน ั้นจ ะต ้องม ีก ารต ิดตามค วบคุมท ี่ม ีป ระสิทธิภาพเสมอ หน้าทีด่ ้านก ารต ิดตาม
ควบคุมแ ม้จ ะม ีค วามส ำคัญด ังก ล่าวแ ล้ว ก็ย ังม ีผ ู้ไม่เข้าใจห รือเข้าใจแ นวคิดเกี่ยวก ับก ารต ิดตามค วบคุมไปอ ย่างผ ิดๆ
เป็นจ ำนวนม าก ทั้งนี้อ าจจ ะเป็นเพราะ ประการแ รก หนังสือท ี่เขียนเกี่ยวก ับเรื่องก ารจ ัดการส ่วนม ากใส่เนื้อหาเกี่ยวก ับ
การติดตามควบคุมไว้หลังสุด ทำให้ถูกมองดูเหมือนเป็นหน้าที่ที่มีความสำคัญไม่มากนักเมื่อเปรียบเทียบกับหน้าที่
อื่นๆ เช่น การวางแผน การจ ัดอ งค์การ การจ ัดคนเข้าท ำงาน แ ละก ารอำนวยการ หรืออาจเป็นเพราะ ประการท ี่สอง มี
ผเู้ ขา้ ใจว า่ ห นา้ ทดี่ า้ นก ารต ดิ ตามค วบคมุ จ ะเขา้ ม าเกีย่ วขอ้ งก ต็ อ่ เมือ่ เกดิ ผ ลข องก ารกร ะท ำท แี่ ตกต า่ งก นั ไปจ ากม าตรฐาน
ที่กำหนดไว้แล้วเท่านั้น สาเหตุส องป ระการท ี่ยกมากล ่าว นี้เป็นส าเหตุท ี่ผ ู้ร ู้หลายท่านให้ค วามเห็นว ่าทำให้มีก ารต ีความ
เกี่ยวกับเรื่องของการติดตามควบคุมไปในลักษณะที่เห็นภาพเพียงครึ่งเดียวเท่านั้น ซึ่งในความเป็นจริงแล้ว หน้าที่
เกี่ยวกับการติดตามควบคุมต้องกระทำไปพร้อมๆ กับหน้าที่ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการจัดการ และโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
กับหน้าที่ด้านการวางแผน ทั้งนี้เพราะการดำเนินการหรือตัดสินใจใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับการติดตามควบคุมจะส่ง
ผลกร ะท บถ งึ แ ผนทวี่ างไว้ และเชน่ เดยี วก บั ท กี่ ารต ดั สนิ ใจเกีย่ วก บั ก ารว างแผนก จ็ ะส ง่ ผ ลกร ะท บถ งึ ก ารต ดิ ตามค วบคมุ
นอกจากนี้หน้าที่ด้านการติดตามควบคุมย ังส ่งผ ลกระท บถึงห น้าที่เกี่ยวกับก ารจ ัดการด ้านอื่นๆ ด้วย ดังนั้นจึงเห็นได้
ว่าหน้าที่ต่างๆ เกี่ยวกับการจัดการมีความสัมพันธ์กันโดยใกล้ชิดอย่างที่ไม่อาจที่จะละเลยหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่งไปได้
ในการจัดการที่ดีนั้นมักเป็นที่ยอมรับกันว่าหากได้มีการดำเนินการที่ดีเกี่ยวกับการวางแผน การจัดองค์การ การจัด
คนเข้าทำงาน การประสานงาน การสั่งก าร ภาวะผู้นำ และก ารต ิดต่อสื่อสารให้ดียิ่งขึ้นเท่าใด ประสิทธิภาพของห น้าที่
ด้านการติดตามควบคุมก็จะมีมากขึ้นเท่านั้น และนอกจากนี้หากได้เตรียมการเกี่ยวกับการติดตามควบคุมที่ดีเท่าใด
หน้าที่ของการจัดการด้านอื่นๆ ดังกล่าวก็จะมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ความสัมพันธ์ของหน้าที่ต่างๆ ของ
การจ ัดการ อาจแสดงให้เห็นได้ ดังภ าพท ี่ 6.1
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช