Page 235 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 235

การ​ติดตามค​ วบคุม 6-7

การก​ ำหนด    แก้ไขว​ ัตถุประสงค์    กำหนดแ​ ผน             การจ​ ัดอ​ งค์การ
วัตถุประสงค์  การ​กำหนด​แผน                                 หรือจ​ ัด​แบ่งง​ าน

                                     แก้ไขแ​ ผน

การต​ ิดตามค​ วบคุม ปรับปรุง         การ​อำนวยก​ าร         การจ​ ัดค​ น
  การป​ ฏิบัติก​ าร การ​ปฏิบัติ​การ  หรือก​ าร​สั่งก​ าร    เข้า​ทำงาน

                            ภาพ​ท่ี 6.1 องคป์​ ระกอบข​ องร​ ะบบ​การต​ ิดตาม​ควบคุม

       หน้าที่​ด้าน​การต​ ิดตามค​ วบคุมแ​ ละห​ น้าที่ด​ ้านก​ ารจ​ ัดก​ าร​ อื่นๆ โดยเ​ฉพาะก​ ารว​ างแผนม​ ี​ความส​ ัมพันธ์ก​ ันโ​ดย​
ใกล้ช​ ิด การ​วางแผน คือ การก​ ำหนด​วัตถุประสงค์ ส่วน​การต​ ิดตาม​ควบคุม คือ การก​ ำหนดม​ าตรการห​ รือ​การค​ ้นหา​
หนทางต​ ่างๆ ที่จ​ ะป​ ้องกัน​มิใ​ห้​เกิดส​ ถาน​กา​รณ์ใ​ดๆ ซึ่ง​จะท​ ำให้ผ​ ลลัพธ์​ที่​ได้​แตกต​ ่าง​ไปจ​ ากเ​ป้า​หมายห​ รือ​วัตถุประสงค​์
ที่ก​ ำหนดไ​ว้ต​ ามแ​ ผน ดังน​ ั้น จึงเ​ห็น​ได้​ว่าว​ ัตถุประสงค์ เป้าห​ มาย นโยบาย และก​ ฎป​ ฏิบัติต​ ่างๆ ของอ​ งค์การใ​ด​องค์การ​
หนึง่ ไม่ใชเ่​ป็นเ​ครือ่ งม​ อื ใ​นก​ ารต​ ิดตามค​ วบคมุ โ​ดยต​ วั ข​ องม​ นั เ​องเ​ทา่ นัน้ สิง่ เ​หลา่ น​ ยี​้ ังเ​ป็นอ​ งคป​์ ระกอบท​ ีก่​ อ่ ใ​หเ​้ กิดค​ วาม​
ต้องการ​ใน​การ​ได้​รับ​ผล​สัมฤทธิ์ หรือ​กล่าว​ได้​ว่า​สิ่ง​เหล่า​นี้​ก็​คือ​แผน​นั่นเอง ดัง​นั้น​ใน​เรื่อง​ของ​การ​บริหาร​เมื่อ​พูด​ถึง​
การ​ติดตาม​ควบคุม​จะ​หมาย​ถึง ความ​จำเป็น​ที่​จะ​ต้อง​พัฒนา​เทคนิค​และ​วิธี​การ​ต่างๆ ขึ้น​มา​เพื่อ​การ​ติดตาม​ควบคุม​
ให้การด​ ำเนินก​ ารส​ ำเร็จ​ตาม​วัตถุประสงค์

       สำหรับ​คำ​นิยาม​เกี่ยว​กับ​การ​ติดตาม​ควบคุม ซึ่ง​นักว​ ิชาการ​ในอ​ ดีต​และ​ปัจจุบัน​ได้​ให้​ไว้​อาทิ
       Henri Fayol1 การต​ ิดตามค​ วบคุม คือ การต​ รวจส​ อบด​ ูว​ ่าท​ ุกส​ ิ่งท​ ุกอ​ ย่างด​ ำเนินส​ อดคล้องไ​ปต​ ามแ​ ผน (Plan)
คำส​ ั่ง (Instruction) และห​ ลักก​ าร (Principle) ทีไ่​ดจ้​ ัดท​ ำไ​วห้​ รือไ​ม่ วัตถุประสงคข์​ องก​ ารต​ ิดตามค​ วบคุมก​ เ็​พื่อเ​ป็นการ​
ค้นหา​จุด​อ่อนแ​ ละข​ ้อบ​ กพร่องเ​พื่อท​ ำการ​แก้ไข​และป​ ้องกัน มิ​ให้​ผล​งาน​คลาด​เคลื่อน​จากว​ ัตถุประสงค์ หน้าที่​ด้านก​ าร​
ติดตามค​ วบคุม​นั้นเ​กี่ยวข้องก​ ับ​ทุกๆ สิ่ง ไม่ว​ ่า​เป็น​เรื่อง​ของค​ น​หรือ​การกร​ ะ​ทำใ​น​ส่วน​ของง​ าน
       Earl P. Strong2 และ Robert D. Smith การ​ติดตาม​ควบคุม เป็น​หน้าที่​ของน​ ัก​บริหาร​ใน​การร​ ะบุป​ ัญหา
(หรือก​ าร​เปลี่ยนแ​ ป​ลง​ใดๆ) ค้นหา​สาเหตุ​และต​ ัดสินใ​จแ​ ก้ไข​เพื่อ​รักษาส​ ถานภาพใ​ห้​คงเ​ดิมภ​ ายใน​ขอบเขตแ​ ห่ง​อำนาจ
หน้าที่ และ​ความ​รับ​ผิดช​ อบ​ที่เ​ขา​มี​อยู่
       Alan C. Filley3 Robert J. House และ Steven Kerr กระบวนการ​ของก​ าร​ติดตาม​ควบคุม คือ การ​พยายาม​
ทำให้​แผนแ​ ละ​การด​ ำเนิน​งาน​สอดคล้องต​ รง​กัน
       W. Warren Haynes4 Joseph L. Massie และ Marc J. Wallace. Jr. การ​ติดตาม​ควบคุม หมาย​ถึง
กระบวนการ​ซึ่งน​ ำทาง​กิจกรรม​ต่างๆ ให้ม​ ุ่ง​ไปส​ ู่​เป้าห​ มายท​ ี่ก​ ำหนดไ​ว้ล​ ่วง​หน้า
       และ Douglas S.5 Sherwin การต​ ิดตามค​ วบคุม คือ การต​ รวจส​ อบด​ ู​ว่า​ได้​มีก​ าร​ดำเนินก​ ารต​ าม​แผน​และ​
มีค​ วามก​ ้าวหน้า​ไปใ​นแ​ นวทางท​ ี่​จะบ​ รรลุ​วัตถุประสงค์ท​ ี่​วางไ​ว้ห​ รือ​ไม่ และด​ ำเนิน​การเ​ท่า​ที่จ​ ำเป็นท​ ี่จ​ ะ​แก้ไขป​ ัญหาก​ าร​
เบี่ยงเ​บน​ใดๆ จาก​วัตถุประสงค์
       และ ธนช​ ัย ยมจ​ ินดา การ​ติดตาม​ควบคุม คือ การ​กำหนดม​ าตรว​ ัดเ​พื่อ​ใช้​เป็นม​ าตรการใ​น​การต​ รวจส​ อบแ​ ละ​
ติดตามก​ ารด​ ำเนินง​ านใ​หเ้​ป็นไ​ปต​ ามแ​ นวทางข​ องแ​ ผนง​ านท​ ีก่​ ำหนด ในก​ ารต​ ิดตามค​ วบคุมต​ ้องม​ กี​ ารว​ ัดแ​ ละต​ ิดตามผ​ ล
การ​วิเคราะห์​และ​ประเมิน​ผลก​ ับม​ าตร​วัด และ​การป​ รับแ​ ก้ไข​ผล​การด​ ำเนิน​งานท​ ี่​จำเป็น

              ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   230   231   232   233   234   235   236   237   238   239   240