Page 232 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 232
6-4 องค์การและก ารจ ัดการและการจัดการท รัพยากรม นุษย์
ความน ำ
การให้ความสำคัญต่อการติดตามควบคุม กล่าวได้ว่ามีมาตั้งแต่การนำเสนอทฤษฎีการจัดการในยุค
นโีอค ลาสสิค (Neo-classical Theory) ที่ใหค้ วามส ำคัญต ่อห ลักก ารจ ัดการ โดยม นี ักว ิชาการร ุ่นแ รกๆ ทีไ่ดน้ ำเสนอให้
เห็นถ ึงห น้าที่ท างการบ ริหาร เช่น แนวคิดข องเฮน รี่ ฟาโยว์ (Henry Fayol) ที่เสนอว ่าห น้าที่ท างการบ ริหารข องผ ู้บ ริหาร
ประกอบไปด ้วย การว างแผน (Planning) การจ ัดองค์การ (Organizing) การส ั่งการ (Commanding) การต ิดตาม
ควบคุม (Controlling) และก ารประสานงาน (Coordinating) ซึ่งจะเห็นได้ว่าในทฤษฎีในยุคนีโอค ลาสสิคนั้น ได้ให้
ความสำคัญเรื่องข องการต ิดตามควบคุมมาตั้งแต่ต ้น เพียงแ ต่ในยุคแ รกๆ นั้น แนวคิดมุ่งไปส ู่การต ิดตามค วบคุมแ ต่
เพียงอ ย่างเดียว จนก ระทั่งม าส ูแ่ นวคิดข องก ารจ ัดการส มัยใหมไ่ดม้ กี ารข ยายค วามข อบเขตข องก ารต ิดตามค วบคุมให้
กว้างขวางขึ้น มาเป็นการติดตามควบคุม (Monitoring and Control) โดยค รอบคลุมถึงการท บทวนห รือตรวจส อบ
ความก ้าวหน้าข องผ ลง านท ีเ่กิดข ึ้น ตลอดจ นเรื่องต ่างๆ ทีเ่กี่ยวข้องก ับง าน เปรียบเทียบก ับว ัตถุประสงค์ เป้าห มาย หรือ
มาตรฐานท กี่ ำหนดไว้ เชน่ องคก์ รม าตรฐานส ากลท เี่ รยี กว า่ COSO (The Committee of Sponsoring Organizations
of the Tread way Commission) ก็ได้ขยายความของระบบควบคุมภายในมาเน้นให้ความสำคัญต่อการติดตาม
และก ารประเมินอ ย่างต ่อเนื่องเพื่อให้เป็นไปต ามมาตรฐาน ดังป รากฏในคู่มือ Guidance on Monitoring Internal
Control Systems ในป ี ค.ศ. 2009 ที่ได้ให้ความส ำคัญต่อคำว ่า Monitoring หรือก ารติดตามมากข ึ้น นอกจากน ี้แล้ว
ยังปรากฏในแนวคิดของการบริหารความเสี่ยงในปัจจุบันที่ได้ให้ความสำคัญต่อ Risk Monitoring and Control
ซึ่งเน้นทั้งการติดตามและควบคุมความเสี่ยง กล่าวโดยสรุป แนวคิดของการติดตามควบคุมงานได้ขยายขอบเขต
จากเดิมท เี่น้นท กี่ ารต ิดตามค วบคมุ ม าเป็นการต ดิ ตามค วบคุมอ ย่างต อ่ เนือ่ ง ดงั น ัน้ ในห น่วยน จี้ ึงข อใชค้ ำว า่ การต ดิ ตาม
ควบคุม เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดก ารจัดการส มัยใหม่ในปัจจุบัน
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช