Page 239 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 239

การ​ติดตาม​ควบคุม 6-11

มาตรฐาน

       องค์​ประกอบ​ต่อ​ไป​ของ​ระบบ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ก็​คือ มาตรฐาน การ​กำหนด​มาตรฐาน​ของ​งาน​ต่างๆ ว่า​
ควร​เป็น​เช่น​ไร หมาย​ถึง การ​กำหนด​ระดับ​ต่ำ​สุด​ของ​ผลลัพธ์​หรือ​ผล​งาน (Output) ที่​คาด​ว่า​จะ​ได้​รับ​จาก​การ​ดำเนิน​
กิจ​กร​รม​หนึ่งๆ ซึ่ง​เรา​จะ​ใช้​มาตรฐาน​เป็น​ตัว​วัด​ว่า​ผลลัพธ์​หรือ​ผล​ของ​งาน​หนึ่ง​งาน​ใด​ที่​ออก​มา​ได้​ตรง​ตาม​ที่​กำหนด​ไว้​
หรือ​ไม่ สำหรับ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​มาตรฐาน​จาก​วัตถุประสงค์​อาจ​ยก​ตัวอย่าง​ให้​เห็น​ชัดเจน​ได้ เช่น องค์การ​กำหนด​
วัตถุประสงค์​ไว้​เพื่อท​ ี่จ​ ะไ​ด้​มี​ส่วนแ​ บ่งข​ องต​ ลาด​เป็น​จำนวน 25% ภายใน 5 ปี ก็​อาจ​กำหนด​มาตรฐานไ​ด้​ว่า “จะด​ ำเนิน​
การ​ขายใ​ห้ไ​ด้ไ​ม่ต​ ่ำ​กว่า 100,000 หน่วย​ภายในป​ ีห​ น้า” เป็นต้น

เกณฑ์ก​ าร​กำหนดม​ าตรฐาน

       ในก​ าร​กำหนด​มาตรฐานน​ ั้น สิ่งท​ ี่ค​ วรค​ ำนึงถ​ ึง คือ
       1. 	 ความ​เป็น​จริง เช่น ฝ่าย​ขาย​จะ​ไม่​ตั้ง​มาตรฐาน​ว่า​จะ​ขาย​ให้​ได้​หนึ่ง​แสน​หน่วย​ภายใน 1 ปี เมื่อ​ฝ่าย​ผลิต​
สามารถ​ผลิต​ได้เ​พียงห​ ้าห​ มื่น​หน่วย เป็นต้น
       2. 	 แนวคิด​ของ​ระบบ ซึ่ง​จะ​ทำให้​การ​กำหนด​มาตร​ฐาน​ใดๆ ต้อง​คำนึง​ถึง​องค์​ประกอบ​ต่างๆ ที่​ประกอบ​กัน​
ขึ้นเ​ป็นร​ ะบบด​ ้วย เช่น ฝ่าย​ขาย​จะ​ไม่​ตั้งม​ าตรฐาน​ว่า จะ​ส่ง​สินค้าใ​ห้​กับ​ลูกค้า​ได้ภ​ ายใน 1 วัน หาก​ฝ่า​ยอื่นๆ เช่น ฝ่าย​
หีบห่อแ​ ละ​จัด​ส่ง ไม่ส​ ามารถ​ทำงาน​ในส​ ่วน​ของ​ตนใ​ห้​ทันไ​ด้
       3. 	 การเ​บี่ยง​เบนไ​ปจ​ ากม​ าตรฐาน ซึ่ง​จะม​ ีข​ ึ้นเ​สมอ และ​ก็เ​ป็นห​ น้าที่ข​ องน​ ักบ​ ริหาร​ที่จ​ ะต​ ้องก​ ำหนด​ขอบเขต​ว่า​
จะ​ยอมรับ​การ​เบี่ยงเ​บน​นั้น​ได้ม​ ากน​ ้อยเ​ท่าใด
       4. 	 การม​ ี​มาตรฐาน​ซ้อน สำหรับเ​รื่อง​นี้ก​ ็เ​กิด​จากผ​ ล​ของก​ าร​ทำว​ ิจัย​และ​ค้น​พบว​ ่า​ความส​ ามารถ​ของ​บุคคล​ใน​
การท​ ำงานใ​นแ​ ตล่ ะว​ นั ข​ องส​ ปั ดาห์ หรอื ใ​นแ​ ตล่ ะผ​ ลดั ห​ รอื ก​ ะข​ องว​ นั จ​ ะแ​ ตกต​ า่ งก​ นั ดงั น​ ัน้ นกั บ​ รหิ ารจ​ งึ ค​ วรท​ จี​่ ะพ​ จิ ารณา​
กำหนดม​ าตรฐาน​ของง​ าน​ให้เ​หมาะ​สำหรับ​แต่ละ​ผลัด​หรือก​ ะ​ใน 1วัน​ด้วย
       5. 	 การ​กำหนด​มาตรฐาน​เฉพาะ​ใน​กิจกรรม​ที่​สำคัญๆ เพื่อ​ประหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​และ​เพื่อ​ประสิทธิภาพ​ของ​
การบ​ ริหาร ซึ่ง​โดย​ทั่วไป​มาตรฐาน​ที่​ควรก​ ำหนด​ได้แก่​มาตรฐานด​ ัง​ต่อ​ไป​นี้

            5.1 	มาตรฐาน​เกี่ยว​กับ​จรรยา​บรรณ​ของ​คนใน​องค์การ (Ethical Standards) คือ​ แนว​พฤติกรรม​ที่​
ต้องการ​ให้​บุคคล​ใน​องค์การป​ ฏิบัติ​ตาม

            5.2 	มาตรฐาน​เกี่ยวก​ ับ​กำหนด​เวลา​เสร็จส​ ิ้น​ของ​งาน (Schedule Standards) คือ กำหนด​วัน​เวลาก​ าร​
เสร็จ​สิ้นข​ องง​ าน​ต่างๆ

            5.3 	มาตรฐาน​เกี่ยว​กับ​ปฏิบัติ​งาน​ด้าน​เทคนิค (Technical Performance Standards) คือ ระดับ​
คุณภาพ​ของก​ ารป​ ฏิบัติง​ านข​ องร​ ะบบ​การ​ทำงานท​ ี่​สำคัญๆ

            5.4 	มาตรฐาน​ของ​ค่า​ใช้​จ่าย (Cost Standard) คือ การ​กำหนด​ต้นทุน​มาตรฐาน​หรือ​ระดับ​ค่า​ใช้​จ่าย​
สำหรับ​งาน​ต่างๆ

            5.5 	มาตรฐาน​เกี่ยว​กับ​อัตราส่วน​ทางการ​เงิน (Financial Ratios) เช่น อัตราส่วน​เงิน​ทุนหมุนเวียน
(Current Ratio) อัตราส่วนข​ อง​สินค้าค​ ง​เหลือ อัตราส่วนด​ ้าน​ลูกห​ นี้ ฯลฯ ซึ่งจ​ ะท​ ำให้ท​ ราบ​ถึงข​ ้อมูล​ทางด​ ้าน​การ​เงิน
สินค้า หรือ​สินทรัพย์ไ​ด้

            5.6 	งบ​ประมาณ (Budget) งบ​ประมาณ​เงินสด​หรือ​งบ​ประมาณ​ดำเนิน​การ (รายรับ​และ​ราย​จ่าย) ที่​
ประมาณ​การ​ไว้ คือ เครื่อง​มือ​ในก​ าร​วางแผน​ซึ่งจ​ ะใ​ช้​เป็นม​ าตรฐานต​ ่อ​ไปเ​มื่อ​งบป​ ระมาณ​ได้​รับ​การอ​ นุมัติ​แล้ว

            5.7 	อตั ราสว่ นก​ ารค​ นื ท​ นุ (Return on Investment) คอื มาตรฐานท​ ใ​ี่ ชว​้ ดั ห​ รอื ป​ ระเมนิ ผ​ ลก​ ารป​ ฏบิ ตั ก​ิ าร
ข​ องง​ าน​ทั้งหมด

                              ลิขสิทธข์ิ องมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243   244