Page 241 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 241
การติดตามควบคุม 6-13
ปัจจัยนำเขา้ กำหนดม าตราฐ าน ข้อมูลย้อนกลับ/
• พันธกิจ หรือเป้าห มาย การป รับแ ก้
• วัตถุประสงค์
• กลยุทธ์ การว ัดผลง าน
• ผลงานในอ ดีต
• ข้อมูลสภาวะแ วดล้อม การเปรียบเทียบผลง าน
ภายนอก กับม าตรฐาน/เป้าห มาย
• การอ อกแบบ
• ระบบค วบคุม ที่ก ำหนดไว้
กำหนดค วามจ ำเป็น
ในการดำเนินก ารแ ก้ไข
ข้อมูลย ้อนกลับ
รักษาส ภาพเดิมไว้ แก้ไขเบี่ยงเบน เปลี่ยนมาตราฐ าน
(ไม่ทำอะไร) ที่เกิดขึ้นได้ หรือเป้าหมายใ หม่
ภาพท่ี 6.3 ข้นั ต อนตา่ งๆ ในกระบวนการต ิดตามควบคุม 4 ขนั้ ตอน
1. การก ำหนดมาตรฐานห รอื เป้าห มาย
มาตรฐานหรือเป้าหมายในที่นี้จะเป็นได้ทั้งในเชิงปริมาณ เช่น ในรูปตัวเงิน เวลา ปริมาณสินค้าและบริการ
และในเชิงคุณภาพ โดยทั่วไปมาตรฐานจะเป็นเกณฑ์หรือเป็นมาตรวัดที่ชัดเจนที่องค์การกำหนดขึ้นเพื่อใช้วัดผลการ
ดำเนินงาน เช่น บริษัทจำหน่ายเครื่องสำอาง กำหนดให้พนักงานขายทุกคนต้องทำยอดขายให้ได้ 10,000 บาท ต่อ
เดือน หรือผ ู้จัดการฝ่ายค ลังสินค้าต้องการล ดต้นทุนการเก็บร ักษาส ินค้าค งเหลือ 15,000 บาท ต่อเดือน เป็นต้น การ
กำหนดม าตรฐานล ักษณะนี้อ ยู่ในร ูปต ัวเงิน และ/ห รือถ้าเป็นม าตรฐานในเชิงคุณภาพ อาจยกต ัวอย่างได้ เช่น บริษัทจ ะ
คัดเฉพาะสินค้าเกรด A เพื่อส ่งจ ำหน่ายในต ลาดต ่างประเทศ หรือก ำหนดว ่าจ ะมีส ินค้าที่ส ่งก ลับค ืนจากลูกค้าไม่เกิน
2% หรือฝ ่ายขายจ ะพัฒนาแ ละปรับปรุงบุคลากรฝ่ายขายให้มีท ักษะด้านภ าษาต ่างป ระเทศด ีข ึ้นกว่าเดิม
2. การว ดั ผลงาน
การต ิดตามควบคุมท ี่ม ีประสิทธิภาพจำเป็นต ้องม ีก ารว ัดเพื่อประเมินผ ลง าน การว ัดผลงานโดยทั่วไปจ ะเป็น
ขั้นตอนที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ระยะเวลาที่ใช้วัดอาจกำหนดเป็นวันหรือสัปดาห์หรือเดือนตามความ
เหมาะสมในขั้นตอนนี้จะมีการวัดผลงานของงานที่เกิดขึ้นจริงๆ ว่าตรงตามมาตรฐานที่กำหนดไว้หรือไม่ ในกรณีที่
ผลงานที่วัดได้อยู่ภายในขอบเขตของมาตรฐานที่กำหนดไว้ อาจตีความได้ว่าระบบหรืองานมีความน่าจะเป็นไปได้สูง
ที่จ ะย ังอ ยู่ภ ายใต้ก ารติดตามควบคุม ซึ่งก็ไม่แน่เสมอไปว่าแท้ท ี่จริงระบบจะย ังค งใช้ว ัดได้ ดังนั้น นักบริหารจ ะต้องมี
การสังเกตและตื่นตัวอยู่อย่างสม่ำเสมอ ทั้งนี้เพราะผลงานที่อยู่ภายในขอบเขตของมาตรฐานไม่ได้หมายความว่าทุก
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช