Page 242 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 242
6-14 องค์การแ ละการจ ัดการและก ารจ ัดการทรัพยากรมนุษย์
อย่างด ำเนินไปด ้วยด เีสมอไป เช่น กรณีท ีม่ กี ารต ั้งม าตรฐานก ารผ ิดพ ลาดข องเครื่องจักรไว้ 2% เมื่อม กี ารซ ื้อเครื่องจักร
มาใหม่มาตรฐานดังกล่าวอาจต้องลดลงเหลือเป็น 1% แต่สำหรับเครื่องจักรที่ซื้อมานานแล้ว เมื่อมีการผิดพลาดอยู่
ภายในขอบเขต 2% ที่ตั้งไว้ตอนแ รกก ็อาจเป็นข้อส ังเกตได้ว ่าเครื่องจักรก ำลังมีปัญหา เป็นต้น
วธิ กี ารว ดั ผลง านม อี ยดู่ ว้ ยก นั ห ลายว ธิ ี คอื วธิ กี ารท ำร ายงาน (ซึง่ อ าจจ ดั ท ำเปน็ แ บบบ ทส รปุ พ รอ้ มก ารใชอ้ ธบิ าย
ด้วยว าจาป ระกอบห รือโดยไมต่ ้องอ ธิบายป ระกอบ) และก ารส ังเกต เป็นการร ายงานเสนอน ั้น เป็นส ิ่งจ ำเป็นแ ละส ามารถ
นำม าใช้ได้ แต่ย ังให้ผ ลไม่เท่ากับว ิธีท ี่น ักบ ริหารทำการส ังเกตการท ำงานข องผ ู้ใต้บ ังคับบัญชาด้วยต นเอง ซึ่งจ ะให้ภ าพ
ที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากกว่าวิธีการวัดผลงานที่ใช้การสังเกตนั้น แม้ว่าบางครั้งนักบริหารจะอ้างว่าเป็นการ
สิ้นเปลืองเวลา แต่ก ็เป็นท ี่ยอมรับว ่าเป็นวิธีการท ี่เป็นป ระโยชน์อ ย่างม าก การว ัดผลง านข องผ ู้ใต้บังคับบ ัญชาน ั้นเป็น
สิ่งจำเป็นส ำหรับผู้บ ังคับบ ัญชาเสมอ ทั้งนี้เพราะการม อบห มายอ ำนาจหน้าที่แ ละความรับผ ิดชอบให้ผู้ใต้บ ังคับบ ัญชา
ไม่ได้หมายความว่าผู้บังคับบัญชาจะสามารถปฏิเสธความรับผิดชอบในงานชิ้นนั้นต่อผู้บังคับบัญชาที่อยู่เหนือตนไป
ได้ ดังน ั้น จึงต ้องทำการติดตามควบคุมผ ู้ใต้บังคับบ ัญชาเพื่อให้ง านด ำเนินไปได้ตามม าตรฐานและเพื่อจะได้แ ก้ไขได้
เมื่อม ีข้อบ กพร่อง ซึ่งจ ะทราบได้ก็ด ้วยการท ำการว ัดผลงาน
ในก ารว ัดผลง านน ั้นจ ะม ีป ัญหาท ี่ม ักจ ะม ีผ ู้ถ ามก ันอ ยู่เสมอว ่า จะว ัดอ ะไร อย่างไร และเมื่อใด สำหรับประเด็น
แรกเกี่ยวกับก ารจ ะวัดอะไรนั้น จะเกี่ยวข้องก ับวัตถุประสงค์ห รือม าตรฐานซึ่งก ำหนดไว้ในกระบวนการว างแผน เช่น
ต้องมีการกำหนดมาตรฐานไว้ว่า จะต ้องขายสินค้าชนิดหนึ่งให้ได้ยอดขาย 1 ล้านชิ้นภ ายใน 1 ปี การวัดก็จ ะต้องไป
วัดท ี่จำนวนย อดข ายของพนักงานข ายต ่อเดือนหรือต ่อ 3 เดือน (ไตรมาส) เพื่อด ูแนวโน้มว ่าจะเป็นไปได้ตามม าตรฐาน
หรือไม่ เป็นต้น และถ้าองค์การกำหนดวัตถุประสงค์ว่าจะให้บริการที่ดีต่อลูกค้า การวัดก็จะไปวัดที่ความพอใจของ
ลูกค้าโดยส่งแบบสอบถามให้ล ูกค้ากรอกเพื่อว ัดด ูว่าเป็นไปตามว ัตถุประสงค์หรือไม่ สำหรับประเด็นท ี่ส อง เกี่ยวกับ
การจ ะวัดอย่างไร นั้นก ็ข ึ้นอ ยู่กับส ถานการณ์ บางก รณีอาจที่จะต ้องทำการว ัดงานทุกช ิ้นที่จัดท ำข ึ้น เช่น กรณีของการ
ตรวจส อบบัญชี ซึ่งจ ะต้องตรวจสอบหลอดไฟได้ท ุกด วงห รืองานข องทุกหน่วยงานโดยไม่มีข้อยกเว้น แต่ในบางก รณี
ก็อ าจที่จะใช้การว ัดแบบสุ่มตัวอย่างเอาก ็ได้ เช่น งานที่เกี่ยวก ับก ารผ ลิตชิ้นส ่วนค รั้งละเป็นจำนวนม าก ซึ่งไม่ส ามารถ
ที่จะท ำการตรวจสอบได้ท ุกชิ้น เป็นต้น และประเด็นส ุดท้ายเกี่ยวก ับการจะวัดเมื่อใดนั้น ก็อาจท ี่จ ะวัดได้ 3 กรณี คือ
1. ก่อนก ารปฏิบัติง าน 2. ในร ะหว่างก ารปฏิบัติงาน และ 3. หลังจ ากก ารปฏิบัติง าน การว ัดก่อนปฏิบัติง าน เช่น กรณี
ของบ ริษัทผ ลิตร ถยนต์ท ดลองผ ลิตร ถแ บบใหม่อ อกม าเพื่อท ดสอบต ลาดด ูว ่าจ ะเป็นท ี่ต ้องการห รือไม่ก ่อนท ี่จ ะท ำการ
ผลิตอ อกม าเป็นจ ำนวนม าก การว ัดผลในร ะหว่างป ฏิบัตงิ าน เช่น กรณีท ีบ่ ริษัทผ ลิตร ถยนต์ท ำการส ำรวจค วามต ้องการ
ของลูกค้าเพื่อปรับปรุงแก้ไขรถยนต์ให้ได้ตามความต้องการของลูกค้าในขณะที่ยังผลิตไม่สำเร็จนั้น และการวัดหลัง
จากการปฏิบัติงาน เช่น กรณีที่บริษัทผลิตรถยนต์สำรวจดูยอดขายของรถยนต์ที่ขายได้หลังจากที่ผลิตออกมาแล้ว
เพื่อนำไปป รับปรุงแก้ไขในโอกาสต ่อไป เป็นต้น
ในข ั้นข องก ารว ัดผลง านน ีเ้ป็นข ั้นท ีต่ ้องใหค้ วามส นใจม ากท ี่สุดแ ละเป็นข ั้นท ีต่ ้องส ิ้นเปลืองค ่าใชจ้ ่ายอ ย่างม าก
เนื่องจากต ้องม ีก ารจ ัดร ะบบข ้อมูลเพื่อท ำการบ ันทึกแ ละร ายงานผ ลให้เหมาะส มก ับร ะบบก ารต ิดตามค วบคุมท ี่เป็นอ ยู่
ข้อมูลจะต้องได้รับการบันทึกและรายงานผลไปยังผู้ใช้ข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องตรงตามความประสงค์ของ
ผู้ใช้ ซึ่งในปัจจุบันระบบการรวบรวมบันทึกและรายงานข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทช่วยเหลือ
ในด้านค วามถูกต ้องแ ละความรวดเร็วเป็นอย่างมาก
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช