Page 247 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 247

การ​ติดตามค​ วบคุม 6-19

การจ​ ำแนก​ประเภท​การ​ติดตามค​ วบคุม​ใน​ลักษณะอ​ ื่นๆ

       นอกจากน​ ี้​ยัง​สามารถ​จำแนก​การ​ติดตาม​ควบคุม​ออกต​ าม​ลักษณะ​ของ​เครื่อง​มือ​ที่​นำ​มา​ใช้​เป็นเ​ครื่อง​วัด​หรือ​
เป็นม​ าตรฐานใ​น​การว​ ัดผลก​ าร​ปฏิบัติง​ าน​ด้าน​ต่างๆ เช่น การใ​ช้ม​ าตรฐานท​ าง​ด้าน​คุณภาพ ปริมาณ เวลา และ​ต้นทุน​
เป็นเ​ครื่องว​ ัด

       1. 	 การต​ ิดตามค​ วบคุมท​ างด​ า้ นค​ ณุ ภาพ เปน็ การต​ ดิ ตามค​ วบคมุ ผ​ ลก​ ารป​ ฏบิ ัตงิ​ านใ​นแ​ งข่​ องค​ ณุ ภาพ ซึ่งท​ ำได​้
ไม่​ง่าย​เหมือน​เช่น​เดียว​กับ​การ​ติดตาม​ควบคุมป​ ริมาณ ยก​ตัวอย่างเ​ช่น การ​ติดตามค​ วบคุม​คุณภาพ​ของ​ผลิตภัณฑ์ท​ ี่​
ผลิต​ขึ้น​มา ซึ่ง​อาจ​มี​ความ​จำเป็น​ที่​จะ​ต้องการ​ติดตาม​ควบคุม​คุณภาพ​ทั้ง​ใน​แง่​ของ​รูป​ร่าง สีสัน ขนาด และ​อื่นๆ อีก​
มากมาย ยิ่งก​ ว่าน​ ั้น การ​ติดตาม​ควบคุม​คุณภาพข​ อง​ผลิตภัณฑ์​ในร​ ูป​ของ​บริการ​ยัง​เพิ่ม​ความย​ ุ่ง​ยากใ​ห้​มาก​ยิ่ง​ขึ้น

       2. 	 การ​ติดตาม​ควบคุม​ทาง​ด้าน​ปริมาณ เป็นการ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​สามารถ​ทำได้​ง่าย​ที่สุด ยก​ตัวอย่าง​ของ​
การต​ ิดตามค​ วบคุม​เชิงป​ ริมาณ เช่น การ​ติดตาม​ควบคุม​ปริมาณ​การผ​ ลิตข​ องส​ ินค้า ไม่​ให้เ​กิน​ปริมาณห​ รือ​จำนวนต​ าม​
คำส​ ั่ง​ซื้อ เป็นต้น จะเ​ห็นไ​ด้​ว่าการ​ติดตามค​ วบคุม​ลักษณะ​นี้​ไม่มี​อะไร​ยุ่งย​ าก​มาก​นัก

       3. 	 การ​ติดตาม​ควบคุม​ทาง​ด้าน​เวลา เป็นการ​ติดตาม​ควบคุม​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​แง่​ของ​เวลา ทั้งนี้​เพราะ​
เวลา​เป็น​ทรัพยากร​ที่​หา​ยาก​และ​มี​จำกัด​ซึ่ง​หาก​ไม่​ทำการ​ติดตาม​ควบคุม​ผล​งาน​ที่​ออก​มา​ก็​ไม่​ได้​ประสิทธิภาพ​และ​
กำหนดเ​วลาอ​ าจไ​มเ่​ป็นไ​ปต​ ามแ​ ผน ยกต​ ัวอย่างเ​ช่น การต​ ิดตามค​ วบคุมเ​วลา เช่น การต​ ั้งม​ าตรฐานก​ ารท​ ำงานช​ ิ้นห​ นึ่งไ​ว้
1 ชั่วโมง ต่อ 1 ชิ้น หากม​ ี​ผู้ใ​ช้เ​วลา 2 ชั่วโมง ต่อ 1 ชิ้น ผลง​ าน​ก็จ​ ะ​ลดล​ งถ​ ึง​ครึ่ง​หนึ่งข​ อง​ที่​ควรจ​ ะ​เป็น ทำให้ผ​ ลผลิต​
ของ​หน่วยง​ านน​ ี้ต​ ้องล​ ด​ลง​ตาม​ไป​ด้วย

       4. 	 การ​ติดตาม​ควบคุม​ทาง​ด้าน​ต้นทุน เป็นการ​ติดตาม​ควบคุม​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​แง่​ของ​ค่า​ใช้​จ่าย
ยก​ตัวอย่าง​ของ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ลักษณะ​นี้​ เช่น งบ​ประมาณ​ใน​การ​ผลิต งบ​ประมาณ​ใน​การ​โฆษณา งบ​ประมาณ
​ใน​การ​จ้าง​แรงงาน ฯลฯ ค่า​ใช้​จ่าย​หรือ​มาตรฐาน​ต้นทุน​เป็น​ตัวกลาง​ใน​การ​วัด จะ​เห็น​ได้​ว่า​หาก​ไม่​ใช้​ค่า​ใช้​จ่าย​เป็น
​เกณฑ์​ใน​การ​วัด​แล้ว​ก็​จะ​ไม่​สามารถ​เปรียบ​เทียบ​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน​ของ​หน่วย​การ​ผลิต หน่วย​งาน​โฆษณา หน่วย​งาน​
ด้านบ​ ัญชีแ​ ละ​กฎหมาย และ/หรือ​หน่วย​งาน​ที่ท​ ำห​ น้าที่​ด้านก​ าร​บุคคล​ได้​เลย

  กิจกรรม 6.1.3
         ให้​นักศึกษา​หา​ตัวอย่าง​ระบบ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ของ​องค์การ​หรือ​หน่วย​งาน​หน่ึง​หน่วย​งาน​ใดแล้ว​

  วเิ คราะหด​์ ว​ู า่ เ​ปน็ ร​ ะบบก​ ารต​ ดิ ตามค​ วบคมุ ช​ นดิ ไ​หน  และม​ ก​ี ารใ​ชร​้ ะบบก​ ารต​ ดิ ตามค​ วบค​ ม​ุ นนั้ ๆ ในส​ ถานการณ​์
  หรือ​สภาวะแ​ วดลอ้ มอ​ ยา่ งไร

  แนวต​ อบก​ ิจกรรม 6.1.3
         ถา้ เ​ปรยี บเ​ทยี บร​ ะบบก​ ารป​ ระเมนิ ผ​ ลข​ องม​ หาวทิ ยาลยั ป​ ดิ ซ​ งึ่ ม​ งุ่ ก​ ารต​ ดิ ตามค​ วบคมุ ใ​หส​้ ามารถผ​ ลติ บ​ ณั ฑติ ​

  ไดอ​้ ยา่ งม​ ค​ี ณุ ภาพ อาจจ​ ะเ​หน็ ไ​ดว​้ า่ ม​ ค​ี วามแ​ ตกต​ า่ งไ​ปจ​ ากร​ ะบบก​ ารป​ ระเมนิ ข​ อง มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
  ซึ่ง​จะ​มี​ลักษณะ​เป็น​ระบบ​การ​ติดตาม​ควบคุม​แบบ​ข้อมูล​ย้อน​กลับ​ไม่​เหมือน​กับ​ระบบ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ของ​
  มหาวิทยาลัย​ปิด​ซ่ึง​มี​ลักษณะ​เป็น​ระบบ​แบบ​ใช้​การ​พยากรณ์​ล่วง​หน้า คือ เปิด​โอกาส​ให้​มี​การ​สอบ​กลาง​ภาค
  สอบย​ อ่ ยเ​ก็บค​ ะแนน ฯลฯ เพ่ือใ​หน​้ กั ศึกษาส​ ามารถป​ ระเมินไ​ดว้​ ่าต​ ้องเตร​ ยี​ มต​ วั อยา่ งไ​รจ​ ึงจ​ ะส​ ามารถส​ อบผ​ า่ นไ​ด​้
  ในก​ าร​สอบไล่​และ​สามารถม​ ผ​ี ลค​ ะแนนไ​ด​ต้ ามเ​กณฑ​์ประเมนิ ​ของว​ ​ชิ า​นน้ั ๆ

                              ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช
   242   243   244   245   246   247   248   249   250   251   252