Page 253 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 253

การ​ติดตามค​ วบคุม 6-25

ใน​แง่​ของ​การ​ใช้​ทรัพยากร​ตาม​กำหนด​เวลา ระดับ​นี้​ถือว่า​เวลา​เป็น​ทรัพยากร​ที่​มี​ค่า​ยิ่ง จึง​ต้อง​ทำให้​เกิด​ประสิทธิภาพ​
ในแ​ ง่​การ​ใช้ป​ ระโยชน์อ​ ย่างส​ ูงสุด

3. ระดบั ก​ าร​ตดิ ตาม​ควบคุมง​ าน​บริหาร (ระดับก​ ลาง)

       การต​ ิดตามค​ วบคุม​ใน​ระดับน​ ี้​จะเ​น้นก​ าร​ติดตาม​ควบคุมท​ ี่​การ​จัดการ (Management Control) เพื่อใ​ห้เ​กิด​
การใ​ช้ท​ รัพยากรอ​ ย่างม​ ีป​ ระสิทธิภาพเ​ป็นไ​ปต​ ามแ​ ผนง​ านห​ รือแ​ ผนง​ บป​ ระมาณข​ องฝ​ ่ายต​ ่างๆ ที่ก​ ำหนดข​ ึ้น การต​ ิดตาม​
ควบคุมใ​นร​ ะดับ​นี้​จะ​ครอบคลุม​ถึง​งานด​ ้าน​ต่างๆ ต่อไ​ป​นี้ คือ การ​ติดตามค​ วบคุมท​ างบ​ ัญชี การ​ติดตามค​ วบคุม​โดย
​งบ​ประมาณ การ​ติดตาม​ควบคุม​คุณภาพ การ​ติดตาม​ควบคุม​ข้อมูล​และ​ข่าวสาร และ​การ​ติดตาม​ควบคุม​ทรัพยากร​
มนุษย์ ซึ่ง​จะ​ขอ​นำ​เสนอ​ใน​ราย​ละเอียด​ดัง​ต่อ​ไป​นี้ สำหรับ​การ​ติดตาม​ควบคุม​เกี่ยว​กับ​เงินสด การ​ติดตาม​ควบคุม​
ต้นทุน และ​การ​ติดตาม​ควบคุม​เกี่ยว​กับ​ลูกค้า​ซึ่ง​เป็น​เรื่อง​ที่​สำคัญ​เช่น​กัน อาจ​ศึกษา​เพิ่ม​เติม​ได้​ใน​ชุดวิชา​ด้าน​การ​
จัดการ​การ​เงิน

       1. 	 การ​ติดตาม​ควบคุม​คุณภาพ (Quality Control) ธุรกิจ​ที่​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ส่วน​ใหญ่​เกิด​จาก​การ​
ผลิต​สินค้า​และ​บริการ​ที่​มี​คุณภาพ มี​ความ​น่า​เชื่อ​ถือ คุณภาพ​จึง​เป็น​ตัว​กำหนด​ความ​สำเร็จ​หรือ​ความ​ล้ม​เหลว​ของ
​ธุรกิจ​ได้ แต่​การ​จะ​สร้างสรรค์​ให้​สินค้า​และ​บริการ​มี​คุณภาพ​ใน​ระดับ​สูง​นั้น​เป็น​เรื่อง​ที่​ค่อน​ข้าง​ยาก เพราะ​ต้อง​มี​การ​
ติดตาม​ควบคุม​คุณภาพ​ใน​ทุก​กระบวนการ​เพื่อ​ให้​ได้​ผลผลิต​ที่​มี​คุณภาพ​ตาม​มาตรฐาน​ที่​กำหนด​ไว้ วิธี​การ​ติดตาม​
ควบคุม​ที่​นิยม​ใช้​กัน​คือ Total Quality Management (TQM) ซึ่งเ​ป็น​กลยุทธ์​การ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​กำหนด​โดย
ผ​ ู้​บริหาร​ระดับส​ ูง เครื่องม​ ือ​ที่จ​ ะ​ใช้ใ​น​การเ​พิ่ม​คุณภาพเ​พื่อ​ให้​เกิดก​ ารพ​ ัฒนาไ​ปส​ ู่ TQM ซึ่ง​อาจน​ ำม​ าใ​ช้ได้​มี​ดังนี้

            1.1 	การเ​ทยี บว​ ัด (Benchmarking) เปน็ กร​ ะบ​ วนก​ ารศ​ กึ ษาแ​ ละเ​ทยี บว​ ัดว​ ธิ กี​ ารต​ า่ งๆ ทีด่​ ที​ ีส่ ุดข​ องบ​ รษิ ัท​
อื่น​ใน​อุตสาหกรรม​เดียวกัน​ หรือ​อุตสาห​กร​รม​อื่นๆ (Best Industrial Practice) ที่​ประสบ​ความ​สำเร็จ​ใน​การ​ผลิต​
สินค้าแ​ ละบ​ ริการท​ ี่ม​ ีค​ ุณภาพ เช่น บริษัทผ​ ลิตร​ องเท้าก​ ีฬาแ​ ห่งห​ นึ่งใ​นป​ ระเทศต​ ้องการพ​ ัฒนาค​ ุณภาพข​ องร​ องเท้าก​ ีฬา​
​ให้​เท่า​เทียม​กับ​รองเท้า​กีฬา​ของ​ยี่ห้อ​ดัง​กล่าว​โดย​นำ​มา​แยก​ชิ้น​ส่วน​เพื่อ​ดู​ว่า​ใช้​วัสดุ​อะไร​เป็น​พิเศษ​บ้าง มี​กรรมวิธี​
การ​วาง​ชั้น​รองเท้า​อย่างไร กำหนด​รูป​ทรง​อย่างไร​เพื่อ​ให้​กระชับ​กับ​เท้า​มาก​ที่สุด ใน​ขณะ​เดียวกัน​บริษัท​อาจ​นำ​เอา​
วิธี​การ​จูงใจ​พนักงาน​จาก​อีก​บริษัท​หนึ่ง​ซึ่ง​ประสบ​ผล​สำเร็จ เช่น การ​ให้​ส่วน​แบ่ง​กำไร เป็นต้น เพื่อ​ให้​พนักงาน​ตั้งใจ​
ทำงาน ผล​ที่​ตาม​มา​ก็​คือ​ความ​ผิด​พลาด​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน​จะ​ลด​ลง​นำ​ไป​สู่​คุณภาพ​ที่​เพิ่ม​ขึ้น วิธี​การ​ที่​นำ​มา​ใช้​เหล่า​นี้​
ตอ้ งน​ ำม​ าป​ ระยกุ ตใ์​ชเ​้ พือ่ ใ​หเ้​หมาะส​ มก​ ับบ​ รษิ ทั ข​ องต​ นเองอ​ กี ค​ รัง้ วิธก​ี ารเ​ทียบว​ ัดน​ ีท้​ ำใหบ​้ ริษัทส​ ามารถพ​ ฒั นาค​ ุณภาพ​
ของ​ผลิตภัณฑ์​และ​ศักยภาพ​ใน​การ​แข่งขัน​ดี​และ​มาก​ขึ้น ตัวอย่าง​เชิง​รูป​ธรรม เช่น Xerox เมื่อ​ครั้ง​ประสบ​ปัญหา​ใน
​ช่วง​ปี ค.ศ. 1980 ได้​ใช้​กลยุทธ์ Benchmarking ด้าน Marketing กับ Procter& Gamble และ​ด้าน TQM กับ
Florida Power & Light เป็นต้น

            1.2 	การจ​ ดั จ​ า้ งภ​ ายนอกท​ ำงานแ​ ทน (Outsourcing) เปน็ ว​ ธิ ก​ี ารเ​พมิ่ ค​ ณุ ภาพอ​ กี ว​ ธิ ห​ี นง่ึ โ​ดยก​ ารใ​หบ้ รษิ ทั อ​ น่ื ​
ที่​มี​ความ​ชำนาญ​ใน​การ​ปฏิบัติ​การ​บาง​หน้าที่​มากกว่า​หรือ​สามารถ​ดำเนิน​งาน​ได้​ด้วย​ต้นทุน​ที่​ต่ำ​กว่า​เป็น​ผู้รับ​งาน​นั้น​
ไปด​ ำเนนิ ก​ ารแ​ ทน กลา่ วไ​ดง​้ า่ ยๆ กค​็ อื ถา้ จ​ า้ งค​ นอ​ ืน่ ท​ ำแ​ ลว้ ไ​ดค​้ ณุ ภาพแ​ ละต​ น้ ทนุ ด​ ก​ี วา่ ก​ ใ​็ หจ​้ า้ งค​ นอ​ ืน่ ท​ ำไ​ปเ​สยี เ​ลย เชน่
Wal-Mart ให้ McDonald’s เขา้ ม​ าท​ ำร​ า้ นอ​ าหารเ​พือ่ บ​ รกิ ารล​ กู คา้ ท​ ีม่ าช​ อ็ ปป​ ิง้ ท​ ี่ Wal-Mart เปน็ ตน้ ธรุ กจิ ท​ มี​่ ข​ี นาดใ​หญ​่
จะบ​ ริหารแ​ ละด​ ำเนินก​ ารใ​นท​ ุกๆ ปฏิบัตก​ิ ารท​ ีม่​ คี​ วามย​ ุ่งย​ ากซ​ ับซ​ ้อนเ​องท​ ุกอ​ ย่างใ​หม้​ ปี​ ระสิทธิภาพห​ รือค​ ุณภาพส​ ูงย​ ่อม​
เป็นเ​รื่องย​ าก ดังน​ ั้น จึงค​ วร​เน้น​ที่ป​ ฏิบัติก​ าร​สำคัญ​หรือ​หลักๆ (Core Activities) เท่านั้น เพื่อใ​ห้การ​ผลิตส​ ินค้า​และ​
บริการ​มี​คุณภาพ​และ​ประสิทธิภาพ การ​จัดหา​แหล่ง​ผลิต​ภายนอก​ที่​มี​ความ​ชำนาญ​เฉพาะ​ด้าน​และ​มี​ต้นทุน​ที่​ต่ำ​กว่า​
มาร​ ับห​ น้าทีด่​ ำเนินก​ ารแ​ ทน จึงเ​ป็นส​ ิ่งท​ ีต่​ ้องพ​ ิจารณาด​ ้วย ตัวอย่างเ​ช่น บริษัทป​ ระกอบร​ ถยนต์ ไมส่​ ามารถผ​ ลิตช​ ิ้นส​ ่วน​
ได้ท​ ั้งหมดจ​ ำเป็นต​ ้อง​สั่งผ​ ลิต​จากบ​ ริษัทอ​ ื่น เช่น เบาะน​ ั่งภ​ ายใน​รถยนต์​ออกแบบ​ตกแต่งภ​ ายใน เป็นต้น

                              ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   248   249   250   251   252   253   254   255   256   257   258