Page 203 - การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
P. 203
พฤติกรรมวิถีการดำเนินชีวิตที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคไม่ติดต่อ 8-37
2. การกำหนดและใช้นโยบายโรคไม่ติดต่อ ภายหลังการประเมินความต้องการของประชากรและการชี้นำ
การดำเนินง าน การว างแผนข ั้นตอนที่ 2 คือ เพื่อกำหนดแ ละใช้นโยบายโรคไม่ติดต่อแ ห่งช าติ การต อบสนองอย่างมี
ประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลต่อโรคไม่ติดต่อต้องการการดำเนินงานและการใช้นโยบายการสาธารณสุขแบบครบ
ถ้วน ซึ่งก ำหนดว ิสัยท ัศนส์ ำหรับก ารป ้องกันแ ละค วบคุมโรคไม่ต ิดต่อส ำหรับในอ ีก 15 ปขี ้างห น้า และจ ะให้ล ำดับค วาม
สำคัญเพื่อก ารป้องกันแ ละค วบคุมโรคไม่ติดต่อท ี่สำคัญแ บบบูรณาการ โดยต ้องมีแ ผนง านส ำหรับการด ำเนินง านตาม
นโยบายด้วย
นโยบายแ ละแ ผนง านร ะดับช าตทิ เี่กี่ยวขอ้ งก ับโรคไมต่ ิดตอ่ ตอ้ งส ง่ ผ ลกร ะท บอ ยา่ งก วา้ งข วางต อ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่
ที่สำคัญ และมุ่งไปที่ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้นร่วมกัน (Common Risk Factors) นโยบายและแผนงานระดับชาติควร
ครอบคลุมกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และการจัดการผู้ป่วยเพื่อพยายามเข้าถึงประชากรให้มากที่สุด
เท่าที่จ ะมากได้ แผนง านจ ะทำการด ำเนินงานให้ท ั่วท ุกร ะดับแ ละต ้องการการมีส่วนเกี่ยวข้องข องห ลากห ลายภาคส่วน
กระบวนการข องก ารก ำหนดแ ละใช้น โยบายแ บบค รบถ ้วนต ้องการให้ผ ู้ม ีส ่วนได้ส ่วนเสียภ ายในแ ละภ ายนอกภ าคส ่วน
สุขภาพม ีส ่วนเกี่ยวข้อง ในก ระบวนการน ี้ การใช้ก ารป ระเมินผลท างเศรษฐกิจแ ละก ารท ำความเข้าใจบ ริบทท างท ้องถ ิ่น
ทางการเมือง ทางว ัฒนธรรม และท างวิทยาการร ะบาดเป็นส ิ่งสำคัญ
3. การระบุขั้นตอนการดำเนินงานตามนโยบาย ขั้นตอนนี้คือ เพื่อระบุวิธีการที่ดีที่สุดซึ่งสามารถดำเนิน
งานตามนโยบายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเงินการคลังสุขภาพ การออกกฎหมาย การออกระเบียบข้อบังคับ
การชี้นำโครงการดำเนินงานในชุมชน และการให้บริการสุขภาพ อย่างไรก็ตาม การดำเนินงานตามนโยบายที่จัดทำที่
ระดับชาติจ ำเป็นต ้องส อดคล้องก ับบริบทและวัฒนธรรมของท ้องถิ่นและทรัพยากรท ี่สำคัญ
นโยบายและแผนงานแบบครบถ้วนในการควบคุมโรคไม่ติดต่อควรประกอบด้วย การจัดทำและการปรับ
เปลี่ยนกฎหมาย กฏระเบียบข้อบังคับ และกลไกการเงินการคลังด้านสุขภาพ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพ และห น่วยงานระดมท รัพยากรที่ส ำคัญ และการให้บริการสุขภาพ
2. แนวทางก ารป ้องกันโรคแ ละการส ่งเสริมสุขภ าพในโรคไม่ติดต่อในป ระเทศไทย
2.1 สถานการณ์ปัญหาและแนวโน้มการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรควิถีการดำเนินชีวิต สถานการณ์ปัจจัย
เสี่ยงต่อก ารเกิดโรคว ิถีก ารด ำเนินช ีวิตข องป ระเทศไทย ทำให้ท ุกฝ ่ายต ้องต ระหนัก ให้ค วามส ำคัญ และเร่งรัดแ สวงหา
ทางออกเพื่อกำหนดแนวทางและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังและให้บังเกิดผลสำเร็จ เพื่อ
สกัดกั้นป ัญหาไม่ให้ล ุกลามร ุนแรงต ่อไป ซึ่งม ีป ระเด็นส ำคัญท ี่ต ้องเร่งรัดป ้องกันแ ละแ ก้ไข (กระทรวงส าธารณสุข กรม
อนามัย 2554) ดังนี้
2.1.1 การข าดค วามต ระหนกั ร ถู้ งึ ภ ยั ค กุ คามส ขุ ภาพ นับว ่า ประชาชนท ั้งในก ลุม่ ค นท ัว่ ไป กลุ่มเสีย่ ง และ
กลุ่มป่วยยังขาดความรู้ความเข้าใจ ตระหนักแ ละละเลยถึงโทษพิษภัยความรุนแรงของปัญหาโรควิถีการดำเนินชีวิต
ตลอดจ นค วามร ู้แ ละแ นวป ฏิบัติในก ารป รับเปลี่ยนว ิถีช ีวิตให้เหมาะส มและถ ูกต้อง ข้อจำกัดในก ารส ื่อสารส ู่สาธารณะ
ที่สื่อและช่องทางสื่อสารยังขาดประสิทธิภาพ ขาดการรวมพลังเครือข่ายสื่อสารทุกภาคส่วนในทุกระดับ ในการ
หนุนเสริมการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะที่มีความแตกต่างจากกลุ่ม
เปา้ ห มายท ัว่ ไป ไมต่ รงป ระเดน็ แ ละข าดค วามน า่ เชือ่ ถ อื สรา้ งค วามส บั สน ไมเ่ หมาะส มก บั บ รบิ ทแ ละภ มู สิ งั คมไทย ทำให้
ไม่ส ามารถส ร้างก ระแสก ารเปลี่ยนแปลงค วามต ระหนักข องส ังคมแ ละจ ิตสำนึกส ุขภาพให้เป็นส ่วนห นึ่งข องว ัฒนธรรม
และวิถีชีวิตข องส ังคมไทยได้
2.1.2 นโยบายระดับชาติและระดับพ้ืนท่ีขาดความเป็นเอกภาพ นโยบายสาธารณะในระดับชาติทั้ง
นโยบายท างเศรษฐกิจ การค ้า การเกษตร อุตสาหกรรม เทคโนโลยี สิ่งแ วดล้อมท ี่ม ีค วามข ัดแ ย้ง บั่นทอนแ ละไม่ห นุน
ลิขสิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช