Page 232 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 232
13-36 อาหารแ ละโภชนบ ำบัด
บา่ ย - คัสตาร์ด (นมสด ½ ถ้วย น้ำตาล 2 ช้อนชา ไข่ไก่ 1ฟอง)
เยน็ - ข้าว ไข่ต ุ๋น ซุบไก่ม ันฝรั่งม ะเขือเทศห อมใหญ่
ข้าว (ข้าวส วย 2 ทัพพี)
ไข่ต ุ๋น ( ไข่ไก่ 1 ฟอง)
ซ ุบไก่ม ันฝรั่งม ะเขือเทศหอมใหญ่ (ไก่ 2 ช้อนโต๊ะ มันฝ รั่ง 1 ถ้วย มะเขือเทศห อมใหญ่
1 ถ้วย)
ก่อนน อน - นมสด 1 แก้ว
ในก รณที ีไ่มช่ อบอ าหารฝ รัง่ ในม ื้อก ลางว นั ใหเ้ ปลีย่ นจ ากส ปาเกตตี เปน็ บะหมี่ เส้นห มี่ หรือเกีย๋ มอ ี๋ แทน
ได้ สำหรับม ื้อบ ่าย ที่เป็นคัสตาร์ด อาจใช้ข นมไทย เช่น หม้อแกง สังขยา แทนได้
2) อาหารท ใ่ี หโ้ ปรตนี ส งู ท ไี่ มใ่ ชเ่ นอื้ ส ตั ว์ เนื่องจากบ างค รั้งผ ูป้ ่วยท ีไ่ดร้ ับย าเคมบี ำบัดไมส่ ามารถก ินเนื้อ
สัตว์ได้ เพราะก ลิ่นเหม็น เหนียว เคี้ยวยาก กลืนลำบาก หรือม ีเยื่อบุช ่องปากอ ่อนเปื่อยจ ากก ารบำบัดรักษาโรคมะเร็ง
ดังน ั้นสิ่งท ี่จะมาชดเชยเนื้อสัตว์ที่ด ีท ี่สุดคือ ไข่ไก่ และนมสด เป็นอาหารท ี่ให้ส ารอ าหารโปรตีนคุณภาพด ี กินง่าย ไม่
ต้องเคี้ยวนาน โดยเฉพาะไข่ลวก หรืออ าจใช้ผลิตภัณฑ์จ ากนม เช่น เนยแ ข็ง โยเกิร์ต ก็ได้ ซึ่งใช้ทดแทนเนื้อสัตว์ได้
เป็นอ ย่างดี
3) อาหารที่ให้พลังงานสูง ในกรณีที่ต้องการให้ผู้ป่วยได้รับพลังงานสูง ในภาวะที่ให้ยาเคมีบำบัด ผู้
ป่วยส ่วนใหญม่ ักก ินอ าหารไดน้ ้อย ดังน ั้น จึงค วรไดร้ ับอ าหารท ีใ่หพ้ ลังงานต ่อห น่วยส ูง ตัวอย่างอ าหารท ีใ่หพ้ ลังงานส ูง
เช่น ไอศกรีม นมผ สมช็อกโกแลต ขนมหวานประเภทท องห ยิบ ทองห ยอด ฝอยทอง ขนมชั้น ขนมหม้อแ กง สังขยา
ฟักทองแกงบวด มันแกงบวด กล้วยบ วชชี ฯลฯ หรืออ าจใช้วิธีการเพิ่มพลังงานโดยใช้น้ำหวานห รือน้ำตาล หรือน ้ำผึ้ง
ช็อกโกแลต นม เนย ผสมในอ าหารเพิ่ม เพื่อช ่วยเพิ่มพลังงานก็ได้
สำหรับผู้ป่วยที่มีทวารเทียม ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่ทำให้เกิดกลิ่น ก๊าซมาก เช่น อาหารประเภท
ผักดิบ ผักสด เช่น ถั่วงอก กะหล่ำปลี ชะอม สะตอ หรือถั่วเมล็ดแห้งต่างๆ เช่น ถั่วเหลือง ถั่วดำ ถั่วแดง ถั่วลิสง
ผลไม้ป ระเภทท ุเรียน
2.3 การจ ดั อ าหารส ำหรบั ผ ปู้ ว่ ยโรคม ะเรง็ ร ะยะส ดุ ทา้ ย ผปู้ ว่ ยก ลุม่ น เี้ ปน็ กล ุม่ ท โี่ รคม ะเรง็ ล กุ ลามจ นไมส่ ามารถ
ให้การรักษาด้วยก ารผ่าตัด หรือฉ ายแสง หรือ เคมีบำบัด ผู้ป่วยกลุ่มน ี้อาจมีชีวิตอยู่ไม่นาน แต่ก ารม ีภาวะโภชนาการ
ที่ดีก็เป็นปัจจัยหนึ่งทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีคุณภาพชีวิตที่ดี การจัดอาหารสำหรับผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อให้
ผู้ป่วยได้สารอาหารเพียงพอเพื่อลดอาการอ่อนเพลีย ลดอาการแทรกซ้อนจากตัวโรค การติดเชื้อ และเพื่อคุณภาพ
ชีวิตที่ด ี ไม่ได้มุ่งห วังเพื่อเพิ่มน ้ำห นัก ผู้ป ่วยก ลุ่มนี้โดยส่วนใหญ่จ ะมักจะผ อม มีอ าการเบื่ออ าหารม าก กินได้น ้อย การ
จัดอาหารควรเป็นอาหารที่กินง่าย ย่อยง่าย ให้พลังงานต่อหน่วยสูงเนื่องจากผู้ป่วยมักกินได้ครั้งละปริมาณน้อย ใน
บางครั้งถ้าผู้ป่วยเบื่ออาหารมาก ไม่รู้สึกหิว และไม่กินอาหารเลย อาจต้องพิจารณาให้ยาที่กระตุ้นความอยากอาหาร
เพื่อให้ผ ู้ป่วยก ินได้บ ้าง
ส่วนช่วงวันสุดท้ายของชีวิต โดยส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักจะไม่รู้สึกหิว อาจไม่กินอาหาร หรือกินน้อยลง การ
อ ดอ าหารข องผ ูป้ ่วยในร ะยะน ีถ้ ้าม องอ ีกม ุมห นึ่งอ าจเป็นป ระโยชน์ต ่อผ ูป้ ่วยค ือ ภาวะอ ดอ าหารท ำใหร้ ่างกายม กี ารส ร้าง
สารค ีโตนเพิ่มขึ้น มีผ ลท ำให้ผ ู้ป่วยรู้สึกต ัวน ้อยลง ความร ู้สึกเจ็บป วด ทุรนทุรายก็อ าจล ดลงด้วยเช่นก ัน ซึ่งอาจม ีผล
ทำให้ผู้ป่วยจ ากไปอย่างส งบได้ ดังน ั้น การจ ัดอ าหารในในช่วงน ี้แนะนำให้จัดต ามส ิ่งท ี่ผู้ป่วยร ้องขอเท่านั้น เป็นเพียง
เพื่อสนองค วามต้องการครั้งส ุดท้ายของผ ู้ป ่วย
ลิขสทิ ธ์ิของมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช