Page 229 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 229

อาหารก​ ับโ​รค​มะเร็ง 13-33

เร่อื ง​ท่ี 13.3.3
การ​จดั การอ​ าหาร​สำหรับ​ผ​ปู้ ่วยโ​รค​มะเร็ง

       ภาวะ​โภชนาการ​ที่​ดี​จะ​ส่ง​ผล​ให้การ​รักษา​โรค​มะเร็ง​นั้น​ได้​ผล​ดี และ​ลด​ผล​แทรกซ้อน​จาก​การ​รักษา​โรค และ​
ยังช​ ่วยท​ ำให้ม​ ีผ​ ู้ป​ ่วยม​ ี​คุณภาพช​ ีวิต​ที่​ดี ดังน​ ั้น การด​ ูแลเ​รื่อง​ภาวะโ​ภชนาการใ​น​ผู้ป​ ่วยโ​รคม​ ะเร็ง​จึงเ​ป็น​สิ่ง​จำเป็นใ​น​ทุก​
ระยะข​ องก​ ารด​ แู ลร​ ักษาโ​รคม​ ะเรง็ ภาว​ ะท​ พุ โ​ภชนาการใ​นผ​ ปู​้ ว่ ยโ​รคม​ ะเรง็ จ​ ะแ​ ตกต​ า่ งจ​ ากภ​ าว​ ะท​ ุพโ​ภชนาการจ​ ากก​ ารอ​ ด​
อาหารค​ ือ ภาว​ ะ​ทุพโ​ภชนาการใ​น​ผู้ป​ ่วยโ​รค​มะเร็งส​ ่วน​ใหญ่​มัก​จะ​เป็นการข​ าด​ทั้ง​โปรตีนแ​ ละ​พลังงาน นอกจากน​ ี้แ​ ล้ว​ผู​้
ป่วยก​ ลุ่มน​ ี้ม​ ักม​ ีภ​ าวะก​ ารข​ าดว​ ิตามินห​ รือเ​กลือ​แร่ ซึ่งเ​กิดจ​ ากก​ ารร​ ับป​ ระทานอ​ าหารไ​ม่เ​พียง​พอห​ รือเ​กิดจ​ ากข​ บวนการ​
รักษาด​ ังร​ ายล​ ะเอียดท​ ี่ก​ ล่าวใ​นเ​รื่องท​ ี่ 13.3.2 ดังน​ ั้น ผู้ป​ ่วยโ​รคม​ ะเร็งจ​ ึงค​ วรไ​ด้ร​ ับพ​ ลังงานแ​ ละโ​ปรตีนใ​ห้เ​พียงพ​ อ รวม​
ถึง​วิตามิน เกลือ​แร่ และน้ำ​ให้​เพียง​พอ​ใน​แต่ละ​วัน จาก​การ​ที่​โรค​มะเร็ง​ทำให้​เกิดภาวะ​การ​สลาย​กล้าม​เนื้อ​และ​เซลล์​
ไขม​ ัน​มาก ซึ่ง​เป็นผ​ ล​ทำให้​ผู้ป​ ่วยโ​รคม​ ะเร็งม​ ี​น้ำ​หนักต​ ัวล​ ด​ลง​อย่าง​รวดเร็ว พบ​ว่าการ​ให้​อาหารท​ ี่พ​ ลังงาน​น้อย​กว่า 30
กิโลแ​ คลอรตี​ ่อน​ ้ำห​ นักต​ ัวห​ นึ่งก​ ิโลกรัมต​ ่อว​ ันน​ ั้น จะไ​มส่​ ามารถค​ งส​ ภาพน​ ้ำห​ นักต​ ัวใ​หค้​ งทีไ่​วไ้​ด้ จึงแ​ นะนำใ​หอ้​ าหารโ​ดย​
ให้​ได้พ​ ลังงานส​ ูงม​ ากกว่า 30-35 กิโลแ​ คลอรีต​ ่อ​น้ำ​หนัก​ตัว​หนึ่งก​ ิโลกรัมต​ ่อ​วัน โดย​ให้​อาหาร​ที่​มีโ​ปรตีนส​ ูง มี​กรด​อะม​ ​ิ
โนแ​ บบก​ ิ่งม​ าก และ​ให้ก​ รด​ไขม​ ันก​ ลุ่ม​โอ​เม​ก้า 3 ชนิดอ​ ี.พี.เอ ( Eicosapentaenic acid, EPA) ร่วมด​ ้วย 2-3 กรัมต​ ่อ​
วัน เพื่อช​ ่วยใ​ห้ผ​ ู้ป​ ่วย​คง​น้ำ​หนักต​ ัว​ไว้ไ​ด้ใ​นร​ ะดับป​ กติ

1. 	วิธีก​ ารใ​ห​อ้ าหารแ​ กผ​่ ู้​ป่วยโ​รค​มะเร็ง

       วิธีการให้อาหารแก่ผู้ป่วยมะเร็ง แบ่งเ​ป็น 3 วิธี คือ การ​ให้​ทางป​ าก การใ​ห้​อาหาร​ทางส​ ายใ​ห้​อาหาร และ​การ​
ให้​อาหาร​ทางห​ ลอดเ​ลือดด​ ำ

       1.1 		การ​ใหท้​ างป​ าก เป็นว​ ิธี​ที่​ดี ปลอดภัย และ​เป็น​ธรรมชาติ ถ้า​ผู้​ป่วย​สามารถก​ ินไ​ด้ การย​ ่อย​และ​การด​ ูดซ​ ึม​
อาหาร​ของ​ผู้ป​ ่วย​ปกติ ก็​ควร​ให้​รับ​ประทาน​ทาง​ทางป​ าก แต่ถ​ ้า​รับป​ ระทานไ​ด้​น้อย​กว่าค​ วามต​ ้องการ​ใน​แต่ละว​ ัน ก็อ​ าจ​
ให้ด​ ื่ม​อาหาร​เสริม​ทางการ​แพทย์ร​ ่วม​ด้วยไ​ด้

       1.2 		การ​ให​้อาหารท​ างส​ าย​ให้อ​ าหาร จะพ​ ิจารณา​ใช้​ใน​กรณี​ผู้​ป่วย​ไม่​สามารถร​ ับ​ประทานอ​ าหาร​ได้​เอง ซึ่งอ​ าจ​
เกิดจ​ าก​การ​กลืน​ลำบาก หรือร​ ับ​ประทาน​ได้น​ ้อย​กว่าร​ ้อย​ละ 50 ของค​ วามต​ ้องการ​ใน​แต่ละว​ ัน กรณี​เช่น​นี้​ควร​ใส่​สาย​
ให้​อาหารเ​พื่อ​ให้​ผู้​ป่วย​ได้​รับ​อาหาร​ให้ไ​ด้เ​พียง​พอ​ต่อค​ วาม​ต้องการ​ใน​แต่ละ​วัน สาย​อาหาร​ที่ใ​ช้บ​ ่อยม​ ีอ​ ยู่ 3 ชนิด

            - 	 สาย​ที่ใ​ส่​จากจ​ มูกไ​ป​ยัง​กระเพาะ​อาหาร ( Nasogastric tube )
            - 	 สายท​ ี่เ​ข้า​กระเพาะอ​ าหาร​โดยตรง (Gastrostomy tube)
            - 	 สาย​ที่ใ​ส่เ​ข้า​สู่​ลำไส้เล็ก (Jejunostomy tube )
       การ​เลือก​ใช้​วิธี​ใด​ขึ้น​อยู่​กับ​ระยะ​เวลา​ที่​จำเป็น​ต้อง​ใช้​สาย​เหล่า​นี้ ถ้า​ไม่​นาน​คือ​น้อย​กว่า 2 สัปดาห์​ก็​อาจ​ใช้
Nasogastric tube แต่​ถ้า​นาน​เกิน 2 สัปดาห์ ก็​ควรใ​ช้​เป็น Gastrostomy tube หรือ Jejunostomy tube
       1.3 		การใ​ห้อ​ าหาร​ทางห​ ลอดเ​ลือดด​ ำ กรณี​ที่​ผู้​ป่วยไ​ม่​สามารถ​รับอ​ าหาร​ทางป​ กติไ​ด้​เช่น ก่อน​ผ่าตัด หรือ​หลัง​
ผ่าตัด หรือข​ ณะใ​ห้​ยาห​ รือฉ​ ายแ​ สงท​ ี่ม​ ีภ​ าวะล​ ำไส้อ​ ักเสบม​ าก จนไ​ม่​สามารถก​ ิน​อาหารท​ างป​ ากไ​ด้ แพทย์ก​ ็​อาจพ​ ิจารณา​
ให้อ​ าหาร​ทางห​ ลอดเ​ลือดด​ ำเ​พื่อ​ให้​ผู้​ป่วยไ​ด้​รับส​ ารอ​ าหารต​ ่างๆ ครบ​ถ้วน จนกว่าจ​ ะส​ ามารถ​รับอ​ าหาร​ทาง​ปกติ​ได้

ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   224   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234