Page 226 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 226

13-30 อาหาร​และโ​ภชนบ​ ำบัด

อาหาร​และ​วิ​ตาม​ ิน​ บี 12 และ​ยัง​มี​ผลท​ ำให้​ขาด​วิตามินท​ ี่​ละลายใ​น​ไขม​ ัน ​เช่น วิตามินเ​อ วิตามิน​ดี วิตามินอ​ ี​ วิต​ าม​ ิน​ เค
ได้​อีกด​ ้วย นอกจากน​ ี้แ​ ล้ว​ลำไส้เล็กส​ ่วน​ปลาย​ยัง​ทำห​ น้าที่​ดูดส​ าร​น้ำ​กลับ​เข้าส​ ู่​กระแสเ​ลือด การต​ ัด​ลำไส้​ส่วนน​ ี้​ออกย​ ัง​
มีผ​ ล​ทำให้ถ​ ่าย​อุจจาระบ​ ่อยท​ ำให้ร​ ่างกาย​สูญเ​สียน​ ้ำ​และ​เกลือแ​ ร่ม​ ากข​ ึ้น

            การผ​ ่าตัดล​ ำไส้ใหญ่ ลำไส้ใหญ่​ทำห​ น้าที่​ใน​การด​ ูด​ซึมน​ ้ำแ​ ละ​เกลือ​แร่​กลับค​ ืน​สู่​กระแส​เลือด ดัง​นั้น ถ้า​
ผ่าตัด​ลำไส้ใหญ่​ออก ​อาจ​มี​ผล​ทำให้​ถ่าย​อุจจาระ​บ่อย และ​มี​ผล​ทำให้​สูญ​เสีย​น้ำ​และ​เกลือ​แร่​ได้ จึง​แนะนำ​ให้​ผู้​ป่วย​
กลุ่ม​นี้ดื่ม​น้ำ​และ​เกลือ​แร่​เพิ่ม​ขึ้น นอกจาก​นี้​ผู้​ป่วย​กลุ่ม​นี้​อาจ​ต้อง​ผ่าตัด​นำ​ลำไส้ใหญ่​ออก​มา​ที่​ผนัง​หน้า​ท้อง​ที่​เรียก​ว่า
โคโลสโ​ตม​ ี (Colostomy) หรือ บางร​ ายท​ ี่ผ​ ่าตัดล​ ำไส้ใหญ่อ​ อกท​ ั้งหมดจ​ ำเป็นต​ ้องน​ ำล​ ำไส้เล็กอ​ อกม​ าท​ ี่ห​ น้าท​ ้องท​ ี่เ​รียก​
ว่า ไอ​ลี​โอส​ ​โต​มี (Ileostomy) เพื่อเ​ป็น​ทาง​สำหรับ​ขับ​ถ่าย​อุจจาระ​ใหม่ห​ รือ​ทวารเ​ทียม ซึ่ง​ผู้​ป่วย​กลุ่ม​ที่ม​ ี​ทวารเ​ทียมน​ ี้ก​ ​็
จะ​อาจ​มีป​ ัญหาใ​นเ​รื่องท​ ้องเ​สีย มีก​ ลิ่น​เหม็น​ของอ​ ุจจาระ มี​แก๊สม​ าก จึงค​ วรห​ ลีกเ​ลี่ยงอ​ าหาร​ที่​ทำให้​เกิดก​ ลิ่น​หรือ​แก๊ส​
มาก นอกจากน​ ี้​แล้ว​ผู้​ป่วยก​ ลุ่มท​ ี่ม​ ีไ​อ​ลีโ​อส​ ​โตม​ ี (Ileostomy) เนื่องจากป​ ากท​ วารเ​ทียม​ของผ​ ู้ป​ ่วยก​ ลุ่ม​นี้ เป็นล​ ำไส้เล็ก​
ทำใหบ้​ างค​ รั้งอ​ าจม​ ีป​ ัญหาเ​รื่องท​ ้องผ​ ูก เนื่องจากอ​ าจม​ ีอ​ ุดต​ ันข​ องอ​ ุจจาระ ดังน​ ั้น จึงแ​ นะนำใ​หด้​ ื่มน​ ้ำม​ ากๆ เคี้ยวอ​ าหาร​
ให้ล​ ะเอียด ออกก​ ำลังก​ าย​สม่ำเสมอ และ​หลีก​เลี่ยงอ​ าหาร​กากใ​ย​สูง

            การ​ผ่าตัด​ตับ​อ่อน ตับ​อ่อน​ทำ​หน้าที่​ใน​การ​สร้าง​เอนไซม์​ใน​การ​ย่อย​และ​ดูด​ซึม​สาร​อาหาร​ประเภท
คารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ไขม​ นั และส​ รา้ งฮ​ อรโ์ มนอ​ นิ ซ​ ลู นิ กลค​ู าก​ อน เปน็ ตน้ การผ​ า่ ตดั ต​ บั อ​ อ่ นจ​ งึ อ​ าจม​ ผ​ี ลท​ ำใหก​้ ารย​ อ่ ย​
และด​ ดู ซ​ มึ อ​ าหารผ​ ดิ ป​ กตโ​ิ ดยเ​ฉพาะ 2-4 สปั ดาหแ​์ รกห​ ลงั ผ​ า่ ตดั ผปู​้ ว่ ยอ​ าจม​ อ​ี าการป​ วดเ​กรง็ ช​ อ่ งท​ อ้ ง เบือ่ อ​ าหาร ทอ้ งอ​ ดื ​
จากก​ ารท​ อี​่ าหารค​ า้ งใ​นก​ ระเพาะอ​ าหารน​ าน ทำใหค​้ ลืน่ ไส้ อาเจยี นไ​ด้ ดงั น​ ัน้ จงึ แ​ นะนำใ​หผ​้ ปู​้ ว่ ยก​ ลุม่ น​ รี​้ บั ป​ ระทานอ​ าหาร​
แบ่ง​เป็นห​ ลายๆ มื้อ เช่น 4-5 มื้อต​ ่อ​วัน กิน​ผัก​ผลไ​ม้​มากข​ ึ้น กิน​อาหารใ​ห้ไ​ด้​พลังงาน​ที่​เพียง​พอ​ต่อ​ความต​ ้องการข​ อง​
ร่างกาย หลีก​เลี่ยง​อาหาร​ไข​มัน​สูง ดื่ม​น้ำ​มากๆ อย่าง​น้อย​วัน​ละ 8 แก้ว นอกจาก​นี้​แล้ว การ​ขาด​เอนไซม์​ที่​ใช้​ใน​การ​
ย่อยไ​ข​มัน​ยังอ​ าจม​ ีผ​ ล​ทำให้​ร่างกาย​ขาด​วิตามิน​ที่​ละลาย​ใน​ไขม​ ันค​ ือ วิตามินเ​อ วิตามินด​ ี วิตามินอ​ ี วิต​ าม​ ิน​ เค ผู้ก​ ลุ่ม​
นี้​จึง​อาจต​ ้องไ​ด้ร​ ับ​วิตามิน​เหล่าน​ ี้เ​พิ่มเ​ติม การ​ขาด​ฮอร์โมน​อิน​สูลิน​ อาจ​จะ​ทำให้​เป็นโ​รค​เบา​หวานไ​ด้

       2.2 		การฉ​ ายแ​ สงห​ รอื ร​ งั สร​ี กั ษา การใ​ช้ร​ ังสีท​ ำลายเ​ซลล์ม​ ะเร็งใ​นข​ ณะเ​ดียวกันร​ ังสีน​ ี้ก​ ็ม​ ีผ​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อเ​นื้อเยื่อ​
ปกติ​โดยร​ อบท​ ำให้เ​กิด​ผลแ​ ทรกซ้อน​ได้ เช่น

       การฉ​ ายแ​ สงบ​ ริเวณศ​ ีรษะแ​ ละล​ ำค​ อ มีผ​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อเ​ยื่อบ​ ุช​ ่องป​ ากท​ ำให้ช​ ่องป​ ากอ​ ักเสบ เป็นแ​ ผล ต่อมน​ ้ำลาย​
แห้ง กิน​อาหาร ไม่รู้ร​ ส ช่อง​ปากแ​ คบ มี​ผลท​ ำให้​ผู้​ป่วยก​ ินอ​ าหารไ​ด้​น้อย ถ้า​ได้​รับส​ ารอ​ าหารไ​ม่​เพียง​พอ​ทำให้​เกิดภ​ า​วะ​
ทุพ​โภชนาการไ​ด้ ดังน​ ั้น ผู้ป​ ่วยท​ ี่ก​ ิน​อาหาร​ไม่ไ​ด้ห​ รือ​กินไ​ด้​น้อย แพทย์​อาจพ​ ิจารณาใ​ห้​อาหาร​ทางส​ ายใ​ห้อ​ าหาร​เพื่อไ​ม่​
ให้เ​กิดภ​ าว​ ะ​ทุพ​โภชนาการ

       การ​ฉาย​แสง​บริเวณ​ช่อง​ท้อง​และ​อุ้ง​เชิงกราน อาจ​ทำให้​เกิด​การ​อักเสบ​ของ​เยื่อ​บุผิว​ของ​กระเพาะ​อาหาร
ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ขึ้น​กับ​ตำแหน่งท​ ี่​ฉายแ​ สง ซึ่งจ​ ะม​ ี​ผลท​ ำให้ก​ ารย​ ่อยแ​ ละด​ ูดซ​ ึม​อาหารผ​ ิด​ปกติ มี​ผลท​ ำให้​ผู้ป​ ่วย​มี​
อาการ​คลื่นไส้ อาเจียน ปวด​ท้อง ท้องเ​สีย สูญเ​สีย​น้ำแ​ ละเ​กลือ​แร่ รับป​ ระทานอ​ าหารไ​ม่​ได้

       นอกจากน​ ี้ผ​ ู้ป​ ่วยท​ ี่ไ​ด้ร​ ับก​ ารฉ​ ายแ​ สงอ​ าจม​ ีอ​ าการเ​บื่ออ​ าหาร คลื่นไส้ อาเจียน น้ำห​ นักล​ ดซ​ ึ่งม​ ีผ​ ลกร​ ะท​ บท​ ำให​้
เกิด​ภาว​ ะท​ ุพ​โภชนาการ​ได้เ​ช่น​กัน

       2.3 		การ​ใช้​ยา​เคมี​บำบัด การ​ใช้​ยา​เคมี​เพื่อ​ทำลาย​เซลล์​มะเร็ง​ใน​ขณะ​เดียวกัน​ยา​นี้​ก็​มี​ผล​ทำลาย​เซลล์​ปกติ​ที่​
แบ่งต​ ัวเ​ร็ว เช่น เซลลเ์​ยื่อบ​ ุผิวช​ ่องป​ ากแ​ ละท​ างเ​ดินอ​ าหาร เซลลเ์​ม็ดเ​ลือด เป็นต้น ทำใหเ้​กิดผ​ ลข​ ้างเ​คียงข​ ึ้น ผลข​ ้างเ​คียง
บ​ าง​อย่าง​ก็​อาจม​ ีผ​ ลก​ระ​ทบ​ต่อภ​ าวะ​โภชนาการ​ได้ เช่น

            2.3.1 	ภาวะ​คล่ืนไส้ อาเจียน เป็น​ภาวะ​ที่​บ่อย​ใน​ผู้​ป่วย​ที่​ได้​รับ​ยา​เคมี​บำบัด ความ​รุนแรง​ขึ้น​กับ​ชนิด​
ของย​ าท​ ี่ไ​ด้ร​ ับ ซึ่ง​โดยท​ ั่วไปแ​ พทย์​จะ​ให้​ยา​แก้อ​ าเจียนเ​พื่อ​ป้องกัน​การ​คลื่นไส้​อาเจียนท​ ั้งก​ ่อน​และ​หลังใ​ห้​ยา​เคมีบ​ ำบัด
ดัง​นั้น ใน​ช่วง​ที่​ให้​เคมี​บำบัด​โดย​เฉพาะ ใน​สัปดาห์​แรก​หลัง​ให้​ยา​เคมี​  ผู้​ป่วย​ควร​รับ​ประทาน​ยา​แก้​อาเจียน​ก่อน​รับ​

                             ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231