Page 225 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 225
อาหารกับโรคมะเร็ง 13-29
นอกจากยาเคมีแล้ว ยาที่ใช้ในการรักษาโรคมะเร็งยังมียาชนิดอื่นอีกหลายชนิด เช่น ยากลุ่มฮอร์โมน ยา
กล ุ่ม Target เป็นต้น
โดยทั่วไปการรักษาโรคมะเร็งนั้นมักจะใช้หลายวิธีร่วมกัน แต่โรคมะเร็งบางชนิดอาจใช้เพียงวิธีเดียวทั้งนี้
การเลือกว ิธีใด ขั้นต อนอ ย่างไรในก ารร ักษาโรคม ะเร็งน ั้นข ึ้นอ ยูก่ ับป ัจจัยห ลายอ ย่าง เช่น ปัจจัยจ ากต ัวโรคม ะเร็ง ระยะ
ของโรคมะเร็ง ความแข็งแรงของร่างกายผู้ป่วย โรคประจำตัวของผู้ป่วย ความจำกัดของทรัพยากรที่ใช้ในการรักษา
โรคมะเร็ง จุดมุ่งหมายของการรักษา ความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว ดังนั้น จึงทำให้การเลือกวิธีการรักษา
ผู้ป่วยโรคมะเร็งแต่ละรายอาจมีความแตกต่างกันไป โดยแพทย์ที่ดูแลรักษาจะพิจารณาเลือกวิธีที่เหมาะสมสำหรับ
ผู้ป่วยแต่ละราย
2. ผลกระทบของการรักษาโรคม ะเร็งต อ่ ภ าวะโภชนาการ
วิธีการร ักษาโรคม ะเร็งอาจมีผ ลกร ะทบทำให้เกิดภ าวะท ุพโภชนาการได้ แบ่งตามว ิธีก ารร ักษา ดังนี้
2.1 การผ า่ ตดั การผ่าตัดเพื่อรักษาโรคมะเร็งท ี่อาจม ีผลต่อภ าวะโภชนาการน ั้น มักเป็นการผ ่าตัดท ี่เกี่ยวข้อง
กับระบบท างเดินอ าหาร เช่น
2.1.1 การผ่าตัดบริเวณศีรษะและลำคอ ช่องปาก หลังการผ่าตัดผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีปัญหาเกี่ยวกับการ
กิน การบ ดเคี้ยวและก ารก ลืนเนื่องจากม ีแผลผ่าตัดในบริเวณด ังก ล่าว ดังนั้น ในช่วงแรกข องก ารผ่าตัดผ ู้ป ่วยก ลุ่มน ี้
จึงม ักต ้องได้ร ับอ าหารท างสายยาง โดยแพทย์จ ะใส่สายให้อาหารเข้าทางรูจมูกผ่านช่องปากลงไปยังห ลอดอาหารต รง
ไปย ังก ระเพาะอ าหารเพื่อให้อ าหาร จนกว่าผู้ป ่วยจ ะร ับประทานอ าหารได้ตามป กติ ถ้าไม่มีการวางแผนให้ผ ู้ป่วยได้รับ
อาหารท างส ายให้อ าหารก ่อน ผู้ป ่วยก ็อาจเกิดภาวะทุพโภชนาการซึ่งม ีผ ลทำให้แผลหายช้า และผ ู้ป ่วยม ีความเสี่ยงต ่อ
การติดเชื้อเพิ่มข ึ้น ซึ่งอ าจท ำให้การรักษานั้นก ็ไม่ป ระสบผลสำเร็จ
2.1.2 การผ่าตัดโรคมะเร็งในระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากระบบทางเดินอาหารประกอบด้วยอวัยวะ
ที่เกี่ยวข้องโดยตรงการได้ร ับสารอาหาร ซึ่งเริ่มต ั้งแต่กระบวนการกลืน ขบวนการการย่อยแ ละการดูดซึมอาหาร การ
ผ่าตัดเอาส ่วนใดส ่วนห นึ่งข องอ วัยวะเหล่าน ี้อ อก ย ่อมม ีผ ลกร ะท บท ำให้เกิดค วามผ ิดป กติต ่อข บวนการเหล่าน ี้ ซึ่งอ าจ
นำไปส ู่ภาวะท ุพโภชนาการได้ ดังร ายละเอียดต ่อไปนี้
การผ่าตัดหลอดอาหาร อาจทำให้ทางเดินอาหารผิดรูป บางครั้งอาจมีการตัดเอาประสาทอัตโนมัติที่
ควบคุมการทำงานของห ลอดอาหารแ ละก ระเพาะอาหารออก ซึ่งม ีผลทำให้อาหารอ ยู่ในก ระเพาะอ าหารนาน ไขม ันถ ูก
ดูดซ ึมได้ไม่ด ี ผู้ป่วยอ าจมีอาการจ ุกแ น่น และอาจมีอ าการท้องเดินได้
การผ่าตัดกระเพาะอาหารมีผลทำให้อาหารผ่านไปสู่ลำไส้เร็วขึ้น ทำให้ขบวนการย่อยและการดูดซึม
สารอาหารไม่สมบูรณ์ ผู้ป ่วยกลุ่มน ี้จ ึงอ าจมีอาการที่เรียกว่า Dumping syndrome ได้โดยผ ู้ป่วยม ักเกิดอาการห ลัง
รับป ระทานอ าหารมื้อใหญ่ๆ หรือร ับป ระทานอ าหารประเภทที่ม ีน ้ำตาลสูงป ระมาณ 30 นาที โดยจ ะเกิดอ าการห น้าม ืด
เวียนศีรษะ จุกแน่นท ้อง คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ หมดสติได้ ดังนั้น ผู้ป่วยก ลุ่มนี้จ ึงค วรรับป ระทานอ าหาร
มื้อล ะน้อยๆ แต่บ ่อยๆ คือ 6-8 มื้อต่อว ัน และแ นะนำให้ร ับประทานอ าหารท ี่โปรตีนมาก น้ำตาลน ้อย ก็จ ะสามารถล ด
การเกิดอ าการน ีไ้ด้ นอกจากน ีผ้ ูป้ ่วยท ีไ่ดร้ ับก ารผ ่าตัดก ระเพาะอ าหารอ อกท ั้งหมด มโีอกาสเกิดภ าวะโลหิตจ างจ ากก าร
ขาดวิตาม ินบี 12 หรือธาตุเหล็ก หรืออ าการผ ิดป กติจ ากแคลเซียมต่ำ ซึ่งจ ะเป็นผ ลท ำให้เกิดภาวะโรคกระดูกพ รุนใน
อนาคตได้ ผู้ป่วยก ลุ่มนี้จ ึงค วรรับวิตามินห รือธ าตุเหล็กเสริมเพื่อรักษาภาวะโลหิตจ าง
การผ่าตัดล ำไส้เล็กม ีผ ลท ำให้ก ารย่อยและการด ูดซ ึมสารอ าหารผ ิดปกติ ลำไส้เล็กส่วนต้นจ ะย ่อยและ
ดูดซ ึมอ าหารป ระเภทค าร์โบไฮเดรตและโปรตีน ส่วนลำไส้เล็กส ่วนป ลายท ำห น้าที่ย ่อยแ ละด ูดซ ึมไขม ัน รวมท ั้งว ติ าม ิน
บี 12 ถ้าตัดลำไส้เล็กส่วนปลายออกมีผลทำให้ไม่สามารถย่อยและดูดซึมอาหารประเภทไขมันได้ ซึ่งทำให้ขาดสาร
ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช