Page 227 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 227
อาหารกับโรคม ะเร็ง 13-31
ประทานอ าหารแ ต่ละม ื้อห รือต ามค ำแ นะนำข องแ พทย์ เนื่องจากย าแ กอ้ าเจียนม หี ลายช นิดบ างช นิดอ อกฤ ทธิย์ าวจ ึงอ าจ
รบั ป ระทานเพยี งว นั ล ะ 1-2 ครัง้ และถ า้ ผ ปู้ ว่ ยย งั ค งม อี าการค ลืน่ ไสอ้ าเจยี นม ากจ นร บั ป ระทานไมไ่ ด้ มอี าการอ อ่ นเพลยี
จากก ารส ูญเสียน ้ำแ ละเกลือแ ร่ กค็ วรไปป รึกษาแ พทย์ นอกจากน ีแ้ ล้วผ ูป้ ่วยท ีไ่ดร้ ับย าเคมอี าจจ ะก ารไดก้ ลิ่นท ีผ่ ิดป กติ
อาหารที่เคยได้กลิ่นหอมก ็อ าจกลายเป็นเหม็น ชวนให้คลื่นไส้อาเจียน จึงควรหลีกเลี่ยงอาหารท ี่มีก ลิ่นรุนแรง
2.3.2 เยอ่ื บชุ ่องปากอ กั เสบ เป็นภาวะท ี่เกิดก ารอักเสบในช ่องปากม ักเกิดในช่วงส ัปดาห์ท ี่ 1-2 ของการ
ให้ยาเคมี ผู้ป่วยจ ะเริ่มมีอ าการเยื่อบ ุช ่องปากแ ดงม ากข ึ้น เจ็บ เป็นแ ผล มีเลือดออก และบางร ายอ าจเกิดการต ิดเชื้อ
ซ้ำเติมในช่องปาก ทำให้รับประทานอาหารเป็นไปด้วยความยากลำบาก ถ้าเป็นระยะเวลานานก็อาจมีผลกระทบทำให้
ขาดส ารอาหารได้ ดังนั้น จึงแ นะนำผู้ป ่วยก ลุ่มนี้ร ักษาค วามสะอาดช่องปาก บ้วนป าก บ่อยๆ โดยเฉพาะห ลังก ินอาหาร
ทุกครั้ง ดื่มน้ำมากๆ วันละ 8- 10 แก้ว รับประทานอาหารอ่อน นิ่ม ครั้งละน้อย เคี้ยวช้าๆ หลีกเลี่ยงอาหารแข็ง
รสเผ็ดร้อน เปรี้ยว ถ้าม ีอ าการเจ็บอ าจใช้ย าแ ก้ป วด ยาช าทาบ ริเวณป วด หรือก ลั้วปาก ก่อนร ับประทานอาหาร กรณี
ที่ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ห รือมีก ารติดเชื้อต้องไปพบแพทย์
2.3.3 ความผิดปกติของการรับรสชาติของอาหาร ยาเคมีบำบัดบางชนิดอาจทำให้การรับรสเปลี่ยนไป
ผู้บางร ายอาจมีค วามไวต ่อรสชาติอาหารมากขึ้น บางร ายไม่รู้รสชาติอ าหาร บางร ายรู้รสขมไวมากกว่าป กติ โดยเฉพาะ
เมื่อร ับป ระทานอาหารประเภทเนื้อส ัตว์ จึงทำให้ปฏิเสธก ารร ับประทานเนื้อสัตว์
2.3.4 ภาวะท อ้ งเสีย ภาวะนี้ อาจเกิดข ึ้นได้ในผู้ป่วยบ างร ายห ลังให้ย าเคมีบำบัด ยาเคมีบางช นิด มีผ ล
แทรกซ้อน ทำให้เกิดอาการท้องเสียมากโดยสามารถเกิดอาการท้องเสียขึ้นได้ตั้งแต่ขณะที่กำลังให้ยา หรือหลังจาก
ให้ยาเคมีไปแล้ว ผู้ป่วยที่ให้ยากลุ่มนี้เมื่อเกิดอาการท้องเสียทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่ มีผลทำให้ร่างกาย
อ่อนเพลีย ดังน ั้น เมื่อเกิดอ าการท ้องเสียจ ึงแ นะนำให้ด ื่มน ้ำผ สมผ งเกลือแ รเ่พื่อช ดเชย ถ้าถ ่ายม ากอ าจก ินย าห ยุดถ ่าย
ได้ แต่ถ ้าม ีอ าการไข้ห รือถ ่ายเป็นม ูกเลือด ปวดเกร็งช ่องท ้อง ซึ่งเป็นส ัญญาณอันตรายคือ เกิดภ าวะเยื่อบ ุล ำไส้อ ักเสบ
จากก ารติดเชื้อ ต้องร ีบไปพ บแพทย์โดยด ่วนเพื่อร ับการร ักษา
2.3.5 ภาวะท้องผูก ภาวะนี้อาจเกิดขึ้นได้ทั้งจากยาเคมีบำบัด หรือยาแก้อาเจียนบางชนิด หรือยาแก้
ปวดกลุ่มม อร์ฟีน หรือจากการดื่มน้ำน ้อย ผู้ป่วยภาวะน ี้ม ีอ าการไม่ถ ่ายอ ุจจาระ หรือถ ่ายยากอ ุจจาระแข็ง รู้สึกอึดอัด
แน่นท ้อง ทำให้ไม่อ ยากร ับป ระทานอ าหาร วิธีก ารแ ก้ไขแ นะนำให้ด ื่มน ้ำม าก 8-10 แก้วต ่อว ัน กินอ าหารท ี่ม ีก ากใยเพิ่ม
ขึ้น น้ำล ูกพ รุน นมเปรี้ยว โยเกิร์ต เคี้ยวอาหารให้ล ะเอียด ออกกำลังก าย ถ้าไม่ดีขึ้นอาจต้องป รึกษาแพทย์เพื่อใช้ยา
ระบาย
2.3.6 ภาวะเบื่ออาหาร เป็นภาวะที่ไม่รู้สึกอยากรับประทานอาหาร อาจเป็นผลมาจากการรับรสชาติ
อาหารท ี่เปลี่ยนไป การได้ก ลิ่นท ี่ผ ิดป กติ มักจ ะร ู้สึกเหม็นเมื่อได้ก ลิ่นอ าหาร เป็นผ ลข ้างเคียงท ี่เกิดข ึ้นช ั่วคราว มักเกิด
ในส ัปดาหท์ ี่ 1-2 หลังใหย้ าเคมี เมื่อห มดฤ ทธิย์ าเคมี ผูป้ ่วยก จ็ ะก ลับม าเริ่มอ ยากร ับป ระทานอ าหาร แต่ผ ูป้ ่วยบ างร ายท ี่
มภี าวะว ิตกก ังวลห รือภ าวะซ ึมเศร้าร ่วมด ้วย อ าจเกิดอ าการเบื่ออ าหารอ ยู่น านเป็นเดือน จึงต ้องว ินิจฉัยแ ละร ักษาภ าวะ
เหล่าน ี้ร่วมด้วย
2.3.7 ภาวะเมด็ เลอื ดข าวต ำ่ ผู้ป ่วยท ี่เกิดภ าวะน ี้อ าจม ีอ าการไข้ ปวดเมื่อยต ามต ัว อ่อนเพลีย มีแ ผลใน
ช่องปาก ท้องเสียถ่ายเหลว ซึ่งภาวะนี้ มักเกิดข ึ้นในช ่วงเวลาหลังให้ยาเคมีสัปดาห์ท ี่ 1-2 และจะเกิดขึ้นชั่วคราว ช่วงที่
เมด็ เลอื ดข าวต ำ่ ผ ปู้ ว่ ยม โี อกาสต ดิ เชือ้ ไดง้ า่ ย ดงั น ัน้ จ งึ ค วรร บั ป ระทานแ ตอ่ าหารท ปี่ รงุ ส กุ ส ะอาด ไมร่ บั ป ระทานผ กั ส ดด บิ
หรือผลไม้ท ี่ไม่ได้ปอกเปลือก หลีกเลี่ยงอ าหารที่ทำให้ท ้องเสียง ่ายเช่น ส้มตำ ยำช นิดต่างๆ ลาบ น้ำตก แนะนำให้รับ
ประทานอ าหารให้ครบห ้าหมู่ในปริมาณที่เพียงพอ เพิ่มอ าหารท ี่มีโปรตีนส ูงเช่นเนื้อสัตว์ นม ไข่ เป็นต้น หมั่นล้างมือ
บ่อยๆ หลีกเลี่ยงก ารไปอยู่ในที่ช ุมชนแออัดเพื่อป ้องกันการต ิดเชื้อ
ลิขสิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช