Page 222 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 222
13-26 อาหารแ ละโภชนบำบัด
เร่ืองที่ 13.3.1
ภาวะท ุพโภชนาการท่เี กดิ จากโรคม ะเร็ง
ภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อทั้งการเกิดโรคมะเร็งและการรักษาโรคมะเร็ง พบว่าภาวะทุพ
โภชนาการเป็นปัญหาที่พ บบ่อยในผู้ป ่วยโรคม ะเร็ง โดยพบว่า ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคมะเร็งท างเดินอ าหารส่วนต ้น
และ ร้อยล ะ 60 ของผ ู้ป่วยโรคม ะเร็งป อด มีน ้ำหนักต ัวล ดล งม ากกว่าร้อยล ะ10 ภายในเวลา 6 เดือน ตั้งแต่เริ่มต ้น
วินิจฉัยว่าเป็นโรค ภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยโรคมะเร็งนั้นจะมีลักษณะที่ต่างจากภาวะทุพโภชนาการจากการขาด
อาหารคือ ร่างกายของผู้ป่วยโรคมะเร็งนั้นจะขาดทั้งโปรตีนและพลังงาน นอกจากนี้แล้วผู้ป่วยมักจะขาดวิตามินและ
เกลือแร่ร่วมด้วย การเกิดภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยโรคมะเร็งเกิดได้จากหลายสาเหตุโดยอาจเป็นสาเหตุโดยตรง
จากโรคมะเร็งเองห รือเป็นสาเหตุซึ่งเป็นผ ลกระทบจากก ารร ักษาโรคมะเร็งก ็ได้
สาเหตขุ องก ารเกดิ ภ าวะท พุ โภชนาการในผ ู้ปว่ ยโรคมะเรง็ ท เี่กดิ จ ากโรคม ะเร็ง
มักเกิดจากหลายสาเหตุร่วมกันไม่ได้เกิดจากสาเหตุใดเพียงสาเหตุเดียว โดยพบว่าผู้ป่วยโรคมะเร็งมักมี
ภาวะต่างๆ ดังต ่อไปนี้
1. ภาวะเบอื่ อ าหาร เป็นภ าวะท ี่พ บได้บ ่อยในผ ู้ป ่วยโรคม ะเร็งโดยส ่วนใหญผ่ ู้ป ่วยม ักม ีอ าการไม่รู้ส ึกห ิว หรือ
อยากรับป ระทานอ าหาร มีการเปลี่ยนแปลงข องก ารได้กลิ่น มีการเปลี่ยนแปลงข องก ารรับร ส มักจะรู้รสขมได้ไวกว่า
ปกติทำให้ปฏิเสธการกินเนื้อสัตว์ รู้สึกอิ่มง่าย หรืออาจมีอาการคลื่นไส้อาเจียน ทำให้มีการเบื่อ ไม่อยากรับประทาน
อาหาร อาการต่างๆ เหล่านี้เกิดขึ้นได้ทั้งจ ากต ัวโรคมะเร็งเอง หรือเป็นภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดห รือการฉ ายแสง
นอกจากน ีย้ ังเชื่อว ่าภ าวะเบื่ออ าหารในผ ูป้ ่วยโรคม ะเร็งน ั้นเกิดจ ากค วามผ ิดป กตขิ องก ารส ื่อป ระสาทไปย ังศ ูนยค์ วบคุม
ความอ ยากอ าหารในส มอง จึงท ำให้ผ ู้ป ่วยโรคม ะเร็งไม่เกิดค วามร ู้สึกอ ยากอ าหารแ ม้ว่าร ่างกายจ ะอ ยู่บ นภ าวะข าดส าร
อาหารและพ ลังงานก็ตาม จึงท ำให้ผู้ป ่วยไม่ก ินอาหาร ซึ่งม ีผลทำให้น้ำห นักลดลงเรื่อยๆ จนเกิดภ าวะท ุพโภชนาการ
2. คล่นื ไส้ อาเจยี น เป็นภาวะที่พบได้บ ่อยในผู้ป่วยโรคมะเร็งร ะบบทางเดินอาหาร มะเร็งต ับ มะเร็งต ับอ่อน
หรือโรคม ะเร็งท ี่แ พร่ก ระจายไปต ับ หรือส มอง การค ลื่นไส้อ าเจียนม ากๆ นั้นจ ะม ีผ ลท ำให้ร ับป ระทานอ าหารได้น ้อยล ง
เมื่อเป็นในร ะยะเวลานานก็จ ะส ่งผลทำให้เกิดภ าว ะทุพโภชนาการได้
3. ความผิดปกติในระบบทางเดินอาหารหรือการย่อยและดูดซึมอาหาร ผู้ป่วยโรคมะเร็งในระบบทางเดิน
อาหารมักม ีก ้อนในทางเดินอาหาร ซึ่งอาจมีผ ลทำให้เกิดก ารอ ุดตันในทางเดินอาหาร ถ้าเกิดในท างเดินอาหารส่วนต ้น
ก็จ ะทำให้เกิดอาการกลืนล ำบาก คลื่นไส้ อาเจียน มีผลท ำให้อาหารไม่สามารถผ ่านไปย ังกระเพาะอาหารเพื่อย่อยแ ละ
ดูดซึมได้ ทำให้ร่างกายขาดสารอาหาร หรือการเกิดโรคมะเร็งที่กระเพาะอาหารหรือโรคมะเร็งลำไส้เล็ก ซึ่งทำหน้าที่
เกี่ยวข้องกับการย่อยและดูดซึมอาหารก็จะมีผลทำให้การย่อยและการดูดซึมอาหารผิดปกติ ผลก็คือ ทำให้ร่างกาย
ขาดสารอาหาร ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะท ุพโภชนาการได้
4. ความผ ดิ ป กตใิ นก ารเผาผ ลาญอ าหารห รอื ม กี ารส ลายเนอื้ เยอ่ื ม ากข นึ้ พบว ่า ผู้ป ่วยโรคม ะเร็งม ีก ารห ลั่งส าร
บางช นิดเช่น ทูเมอร์นิโครซ ิสแฟกเตอร์-แอลฟา (Tumor necrosis factor-alpha) อินเตอ ร์ลิวคิน-1 (Interleukin-1)
อินเตอ ร์ลิวคิน-6 (Interleukin –6) อินเตอร์เฟอรอน-แกมมา (Interferon–gamma) โปรต ีนโอไลซีส-อินดิวซ ิ่ง แฟก
เตอร์ (Proteolysis-inducing factor) ลิพ ิดโมบ ิไลซิ่งแฟกเตอร์ (Lipid mobilizing factor) ซึ่งสารเหล่าน ี้มีผลทำให้
ร่างกายของผู้ป่วยโรคมะเร็งมีการสลายโปรตีนจากกล้ามเนื้อมากขึ้น มีการสลายไขมันจากเซลล์ไขมันมากขึ้น ทำให้
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช