Page 218 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 218
13-22 อาหารแ ละโภชนบำบัด
4) อาหารท มี่ วี ติ ามนิ ซ สี งู ประเภทพ ืชผ ักแ ละผ ลไม้ช นิดต ่างๆ เช่น ขี้เหล็ก บรอกโคล ี ใบเหล ีย ง ผักก าดเขียว
ผักค ะน้า พริกช ี้ฟ้า พริกห วาน มะระขี้นก ยอดส ะเดา ฝรั่ง มะปรางสุก เพื่อป้องกันมะเร็งหลอดอาหารและกระเพาะ
อาหาร ควบคุมน ้ำห นักตัว โรคอ้วน ซึ่งม ีความส ัมพันธ์กับโรคม ะเร็งม ดลูก ถุงน ้ำดี เต้าน ม และลำไส้ใหญ่ อาหารที่มี
วิตามินซ ีช ่วยลดอัตราเสี่ยงต ่อก ารเป็นโรคมะเร็งบ างช นิด เช่น มะเร็งก ระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กล่องเสียง เชื่อว่า
วิตามินซียับยั้งก ารสร้างไนโตรซ ามีนจากไนไตรต์ และอะมีนทุติยภูมิ
5) อาหารท ี่มีวติ ามนิ บี 2 มีมากในอาหาร เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแ ห้ง ผักใบเขียว หน้าที่สำคัญของวิตาม ิน
บี 2 คือ เกี่ยวข้องกับการหายใจของเซลล์ นอกจากนี้ยังเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่มีหน้าที่ทำลายสารก่อมะเร็ง
ชนิดต ่างๆ จึงช่วยป้องกันโรคม ะเร็งได้
การรับประทานอาหารประเภทผักและผลไม้ ซึ่งให้วิตามินและใยอาหารสูงช่วยป้องกันมะเร็งได้แล้ว การ
รับประทานเนื้อสัตว์ก็เป็นอาหารที่สำคัญเพราะให้สารอาหารโปรตีน ซึ่งจำเป็นในการเจริญเติบโต ซ่อมแซมเซลล์ที่
เสียหายสึกหรอและให้พลังงาน ช่วยเสริมสร้างไขกระดูกซึ่งเป็นเนื้อเยื่อ เพราะไขกระดูกเป็นเนื้อเยื่อสร้างเม็ดเลือด
ทุกชนิด ทั้งเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด เพื่อความแ ข็งแรงกับร่างกาย ให้ภูมิคุ้มกันโรค ป้องกันการ
ติดเชื้อ แหล่งอาหารที่ให้ส ารอ าหารโปรตีนที่ส ำคัญมาจ ากถ ั่วเมล็ดแ ห้งต ่างๆ โดยเฉพาะถั่วเหลือง ปลา เนื้อสัตว์ ตับ
ไข่ และ นม สำหรับเนื้อสัตว์ที่ร ับป ระทานควรเป็นเนื้อที่ไม่ติดม ัน เช่น เนื้อปลา เนื้อไก่ล ้วนท ี่ไม่มีมัน หรือเป็นเนื้อสัตว์
ที่ไม่ได้ผ่านการแ ปรรูปโดยใช้สารเคมี
นอกจากก ารร ับป ระทานอ าหารท ีม่ สี ารป อ้ งกนั ก ารเกิดอ นมุ ูลอ สิ ระซ ึง่ ม อี ยูใ่นผ ักแ ละผ ลไมแ้ ลว้ การอ อกก ำลัง-
กายและก ารควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ ้วนก ็จะช่วยป้องกันโรคมะเร็งได้
ข้อค วรป ฏบิ ตั ิเพ่อื ป้องกนั โรคม ะเรง็ ท่ีเกิดจากการบรโิ ภคอาหาร
1. กินอ าหารให้ครบ 5 หมู่ และค วรเลือกอาหารท ี่มีวิตามินเอ ซี และว ิตามินอ ีสูง
2. กินอ าหารท ี่ม ีก ากใยม าก ได้แก่ ผัก ผลไม้ เมล็ดธ ัญพืชท ี่ข ัดส ีน ้อย โดยก ินผ ักแ ละผ ลไม้ ให้ม ากข ึ้น เพราะ
ให้ ใยอาหาร วิตามินซ ี และแ คโรทีน ซึ่งเปลี่ยนเป็นเป็นวิตามินเอ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง
3. ควรก ินอาหารให้ห ลากหลาย ไม่ควรกินอาหารชนิดเดียวกันซ้ำๆ
4. ไม่ค วรก ินอ าหารป ระเภทไขม ันป ริมาณม ากเกินไป ควรจ ำกัดป ริมาณไตรกลีเซอไรด์แ ละโคเลสเตอรอลท ี่
กิน ไม่ค วรเกินร้อยล ะ 30 ของแคลอรีที่ได้รับใน 1 วัน
5. กินอ าหารที่เก็บถนอมไว้น้อยลง เช่น อาหารที่ใส่เกลือดินประสิว ผ่านการรมควัน หลีกเลี่ยงพ วกแ หนม
ไส้กรอก ปลาร้า ปลาเค็ม และเนื้อเค็ม
6. หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่ใส่สีโดยเฉพาะส ีสังเคราะห์
7. ไม่ค วรกินอาหารร สเค็มจัด
8. หลีกเลี่ยงการกิน อาหารไหม้เกรียม ส่วนที่ไหม้เกรียมของอ าหารป ระเภทป ิ้ง ย่าง รมควัน เช่น ปลาย ่าง
เนื้อย่าง ไก่ย ่าง ลูกช ิ้นป ิ้ง ฯลฯ เพราะจะได้รับสารพอลีไซค ลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน ทำให้เกิดม ะเร็งได้
9. ไม่กินอาหารที่มีราขึ้นไม่กินอาหารที่มีความชื้น เพราะเชื้อราแอสเพอร์จิลลัส ฟลาวัส ที่ผลิตสารพิษ
อะฟลาทอกซิน ทำให้เกิดมะเร็งได้
10. ไม่ควรดื่มน้ำช า กาแฟม ากเกินไป และค วรหลีกเลี่ยงการด ื่มของร ้อนจัดๆ
การมีพ ฤติกรรมการบริโภคอาหารแบบไทยจ ะได้สารอ าหารค รบถ้วน มีความส มดุล คือมีป ริมาณสารอ าหาร
โปรตีนเพียงพ อ ไขม ันน้อย มีใยอ าหารม าก และว ิธีในการประกอบอาหารจะมีการต ้ม ตุ๋น นึ่ง ย่าง สลับก ันไป การรับ
ประทานอ าหารไทยที่ม ีพืชผ ักส มุนไพรเป็นส่วนป ระกอบห ลายชนิด เช่น พริก หอมแดง กระเทียม มะขาม ผักชี ตะไคร้
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช