Page 214 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 214

13-18 อาหารแ​ ละโ​ภชน​บำบัด

            ประเภท​แรก ได้แก่ เนื้อส​ ัตว์​บด เช่น หมู​บด ไก่​บด เนื้อ​ปลาข​ ูด ลูก​ชิ้น​ปลา ลูก​ชิ้น​หมู ลูก​ชิ้น​เนื้อ ฯลฯ
            ประเภทท​ ่ี​สอง ได้แก่ เนื้อ​สัตว์ท​ ั่วไป เช่น เนื้อ​วัว เนื้อ​หมู เนื้อ​ไก่ และเ​นื้อ​ปลา หมูยอ ทอดมัน ฯลฯ
            ประเภทท​ สี่​ าม ได้แก่ ขนม​จาก​แป้ง เช่น ทับทิมก​ รอบ รวม​มิตร ลอด​ช่อง แป้ง​กรุบ บัวลอยเ​ผือก ฯลฯ
            ประเภทท​ ส​่ี ี่ ได้แก่ ของห​ วานแ​ ละผ​ ลไ​ม้ด​ อง เช่น เผือกก​ วน วุ้นก​ ะทิ สาคูก​ ะทิ ถั่วแ​ ดงใ​นข​ ้าวเ​หนียวต​ ัด
มะม่วง​ดอง มะดันด​ อง ฯลฯ
       7. 	 คลอแ​ รมแ​ ฟนค​ิ อลแ​ ละย​ ากล​ มุ่ ไ​ นโ​ตรฟ​ แ​ู รนส​ ์ คลอแ​ รมเ​ฟน​ คิ​ อล (Chloramphenicol) มปี​ ระสิทธิภาพใ​น​
การต​ ้าน​จุลินทรีย์ไ​ด้ห​ ลาย​ชนิด แต่​เนื่องจากม​ ัน​มี​ผล​ข้างเ​คียงท​ ี่​อันตรายม​ าก เช่น ทำลายไ​ขกระดูก (bone marrow)
และม​ ะเร็งเ​ม็ดโ​ลหิตข​ าว (aplastic anemia) ส่วนไ​นโ​ตรฟ​ ูแ​ รนส​ ์ (Nitrofurans) เป็นย​ าป​ ฏิชีวนะท​ ีส่​ ังเคราะหข์​ ึ้น นิยม​
ใชก้​ ันอ​ ย่างก​ ว้างข​ วางใ​นก​ ารร​ ักษาโ​รคต​ ิดเ​ชื้อภ​ ายในล​ ำไสแ้​ ละโ​รคต​ ิดเ​ชื้อใ​นร​ ะบบท​ างเ​ดินป​ ัสสาวะข​ องส​ ัตวจ์​ ำพวก แพะ
แกะ สุกร โค กระบือ เป็ด ไก่ และก​ ุ้ง สารก​ ลุ่ม​นี้​มีแ​ นวโ​น้มเ​ป็น​สารก​ ่อ​มะเร็งแ​ ละ​ทำให้​เกิด​การก​ลายพ​ ันธุ์ใ​นส​ ัตว์ ถ้า​
ได้ร​ ับก​ ารบ​ ริโภคใ​นร​ ะยะเ​วลาน​ าน สารก​ ลุ่มน​ ี้เ​ป็นอ​ ันตรายใ​นอ​ าหารจ​ ะต​ กค้างใ​นเ​นื้อเยื่อข​ องส​ ัตว์ไ​ด้น​ านห​ ลายส​ ัปดาห์
จึงถ​ ูกห​ ้ามใ​ช้ก​ ับส​ ัตวท์​ ีเ่​ลี้ยงไ​ว้เ​พื่อเ​ป็นอ​ าหารใ​นห​ ลายป​ ระเทศ เช่น อเมริกา ออสเตรีย แคนาดา ญี่ปุ่น สิงคโปร์ บังค​ ลา​
เทศ ญี่ปุ่น ​กลุ่มส​ หภาพ​ยุโรป เป็นต้น
       8. 	 สี​สังเคราะห์​หรือ​สี​ย้อม​ผ้า การ​ใช้​สี​ผสม​อาหาร​ช่วย​ให้​อาหาร​ดู​สวยงาม​น่า​รับ​ประทาน สี​ผสม​อาหาร​ที่​ใช้​
อาจ​ได้​จากสี​สังเคราะห์​ทาง​วิทยาศาสตร์​และ​สี​ที่​ได้​จาก​ธรรมชาติ แต่​ผู้​ผลิต​อาหาร​ที่​นิยม​ใช้​สี​สังเคราะห์​เพราะ​ติด​ทน​
นาน มีส​ ีฉ​ ูดฉาด สดใส​สวยงาม หรือม​ ีก​ ลิ่นห​ อม มี​ให้​เลือกห​ ลาก​หลาย และย​ ังส​ ามารถก​ ำหนดป​ ริมาณ​การใ​ช้ได้ จึงใช​้
มากกว่าส​ ี​ธรรมชาติ บางค​ รั้งผ​ ู้ผ​ ลิตท​ ี่ต​ ้องการใ​ห้​อาหารม​ ี​สีสัน​สดใส​อาจเ​กิดค​ วาม​เข้าใจผ​ ิด ใช้ส​ ี​ย้อม​ผ้า ย้อม​แพร ซึ่ง​
มี​ราคา​ถูก​และ​ให้​สี​จัด​กว่า​สี​ที่​ได้​จาก​ธรรมชาติ มา​ใช้​แทน​สี​ผสม​อาหาร​ทำให้​เกิด​อันตราย​ต่อ​ร่างกาย เพราะ​สี​ย้อม​ผ้า​
ประกอบ​ไป​ด้วย​โลหะ​หนัก เช่น สารหนู ตะกั่ว แคดเมียม ปรอท พลวง และ​โครเมียม โลหะ​หนัก​เหล่า​นี้​เป็น​ปัจจัย​
เสี่ยง​หากส​ ะสม​ใน​ร่างกายป​ ริม​ าณม​ ากๆ อาจท​ ำให้เ​กิดโ​รค​มะเร็ง หรือ​เสียช​ ีวิต​ได้
       สี​ผสม​อาหาร​ได้​จาก​การ​สังเคราะห์​ทาง​เคมี​มี​การ​กำหนด​ปริมาณ​สี​ที่​อนุญาต​ให้​ใช้​ผสม​ใน​อาหาร​ประเภท
เครื่อง​ดื่ม ไอศกรีม ลูกก​ วาด และ​ขนม​หวานเ​ช่น วุ้น​กรอบ รวม​มิตร ลอด​ช่อง
       สี​ที่​ใช้ได้ใ​นป​ ริมาณ​ไม่​เกิน 70 มิลลิกรัมต​ ่อ​อาหารใ​นล​ ักษณะ​ที่​ใช้​บริโภค 1 กิโลกรัม คือ
            - 	 สีแ​ ดง ได้แก่ เอ​โซ​รู​บีน ออ​ริโ​ทร​ซิน
            - 	 สีเ​หลือง ได้แก่ ตาร์​ตรา​ซีน ซัน​เซตเยลโ​ลว์ เอ็ฟ ซี เอ็ฟ
            - 	 สี​เขียว ได้แก่ ฟาสต์​กรีน​ เอ็ฟ ซี เอ็ฟ
            - 	 สีน้ำเงิน ได้แก่ อิน​ดิ​โก​คาร์ม​ ีน หรืออ​ ิน​ดิโ​กต​ ิน
       สี​ที่​ใช้ได้​ปริมาณ​ไม่เ​กิน 50 มิลลิกรัมต​ ่อ​อาหาร​ใน​ลักษณะท​ ี่ใ​ช้บ​ ริโภค 1 กิโลกรัม คือ
            - 	 สีแ​ ดง ได้แก่ ปองโ​ซ 4 อาร์
            - 	 สีน้ำเงิน ได้แก่ บริล​เลีย​นบลู เอ็ฟ ซี เอ็ฟ
       ถึง​แม้​สี​ผสม​อาหาร​จะ​เป็น​วัตถุ​เจือปน​อาหาร​ที่​อนุญาต​ให้​ผสม​ใน​อาหาร​ได้ แต่​สี​ผสม​อาหาร​ไม่ใช่​สาร​อาหาร​
ที่​มี​ประโยชน์​ต่อ​ร่างกาย กลับ​เป็น​ภาระ​ของ​ร่างกาย​ที่​ต้อง​คอย​ทำลาย​ทิ้ง หาก​ได้​รับ​ใน​ปริมาณ​มาก​หรือ​บ่อยๆ สี​ผสม​
อาหาร​จะ​ไป​เคลือบ​เยื่อ​บุก​ระ​เพาะ​อาหาร ทำให้​น้ำ​ย่อย​อาหาร​ออก​มา​ไม่​สะดวก อาหาร​ย่อย​ยาก เกิด​อาการ​ท้อง​อืด
ท้องเ​ฟ้อ และข​ ัดข​ วางก​ ารด​ ูดซ​ ึมอ​ าหาร ทำให้ท​ ้องเ​ดิน น้ำห​ นักล​ ด อ่อนเพลีย อาจม​ ี​อาการข​ องต​ ับแ​ ละไ​ตอ​ ักเสบ ซึ่งอ​ าจ​
เป็นส​ าเหตุ​ของโ​รค​มะเร็ง
       การ​ป้องกัน​ให้​เลือก​อาหาร​บริโภค​ที่​เป็น​สี​ธรรมชาติ​หรือ​สี​ขาว หลีก​เลี่ยง​ขนม​ที่​มี​สี​ฉูดฉาด​หรือ​สี​เข้ม​จัด การ​
ใช้​สีผ​ สม​อาหาร​ที่ไ​ด้จ​ ากธ​ รรมชาติ เช่น สีแ​ ดงไ​ด้จ​ ากค​ รั่ง กระเจี๊ยบ มะเขือ​เทศ พริก​แดง ข้าวแ​ ดง สี​ส้ม จากแ​ ครอท

                             ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218   219