Page 211 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 211

อาหาร​กับ​โรค​มะเร็ง 13-15

เร่ือง​ที่ 13.2.1
อาหารท​ ่ม​ี ีส​ ารพ​ ษิ ก​ อ่ ใ​ห้​เกิดโ​รคม​ ะเร็ง

       โรคม​ ะเร็ง​มีค​ วามส​ ัมพันธ์​กับ​ปัจจัยต​ ่างๆ ในส​ ิ่ง​แวดล้อมท​ ี่​อยู่ร​ อบต​ ัวเ​รา อาหาร​เป็น​ปัจจัย​สำคัญ​อย่างห​ นึ่ง​ที​่
มี​ความส​ ัมพันธ์ก​ ับ​โรค​มะเร็ง ลักษณะข​ อง​อาหาร​บริโภค วิธีก​ ารเตร​ ีย​ ม​และก​ ารป​ ระกอบอ​ าหาร​บางอ​ ย่าง​ทำให้​เกิดก​ าร​
เสี่ยง​ต่อ​การ​เกิด​โรค​มะเร็ง​ได้​ง่าย เช่น อาหาร​ที่​มี​ไข​มัน​สูง อาหาร​ที่​เก็บ​ถนอม​หรือ​แปรรูป​โดย​ใส่​สาร​เคมี​ปริมาณ​มาก​
เป็นป​ ระจำ อาหารท​ ี่ม​ ีส​ ีฉ​ ูดฉาดโ​ดย​ใช้​สีส​ ังเคราะห์​ผสม​อาหาร อาหารป​ ิ้ง ย่าง รม​ควัน อาหารที่ไ​หม้เ​กรียม อาห​ าร​ สุกๆ
ดิบๆ เป็นต้น อาหาร​เหล่า​นี้​เป็น​ปัจจัยเ​สี่ยงก​ ่อ​ให้​เกิดโ​รค​มะเร็ง​ได้

       การ​เกิด​โรค​มะเร็ง​จาก​อาหาร อาจ​เกิด​จาก​ตัว​อาหาร​เอง​ตาม​ธรรมชาติ อาหาร​บาง​อย่าง​มี​สาร​พิษ​ปน​เปื้อน​อยู่
ได้แก่ อาหาร​แห้ง​ต่างๆ เช่น ถั่ว​ลิสง พริก​แห้ง หัว​หอม ฯลฯ ที่​เก็บ​ไว้​นาน​มี​ความชื้น​สูง​ทำให้​มี​สาร​พิษ​จาก​เชื้อ​รา​
ปน​เปื้อน หรือ​อาจ​เกิด​จาก​การก​ระ​ทำ​ของ​มนุษย์ เช่น การ​ใช้​สาร​เคมี​ใน​อุตสาหกรรม​อาหาร อาหาร​แปรรูป​ที่​ผู้​ผลิต​มี​
ความ​ตั้งใจ​เติม​สาร​เคมี​บาง​ชนิด​ลง​ไป​เพื่อ​ประโยชน์​ใน​กระบวนการ​ผลิต ซึ่ง​สาร​เคมี​เหล่า​นี้​ถ้า​ร่างกาย​ได้​รับ​ปริมาณ​
มาก​อาจ​มี​ผล​ต่อก​ าร​เกิดโ​รค​มะเร็งไ​ด้

       นอกจากต​ ัวอ​ าหารแ​ ล้ว ผู้ท​ ี่​มี​พฤติกรรม​การบ​ ริโภค​อาหารท​ ี่​แตกต​ ่างก​ ันจ​ ะม​ ี​ความเ​สี่ยงต​ ่อ​การ​เกิดโ​รค​มะเร็ง​
ใน​ร่างกายบ​ ริเวณ​ที่​ต่างก​ ัน สำหรับผ​ ู้ท​ ี่​รับป​ ระทาน​อาหารซึ่งม​ ี​ราสีเ​ขียว สีเ​หลืองข​ ึ้น​บ่อยๆ เช่น ถั่วล​ ิสงค​ ั่ว​ป่นท​ ี่​มี​รา​ขึ้น
พริกป​ ่นท​ ี่ช​ ื้นม​ ีร​ าข​ ึ้น จะเ​สี่ยงต​ ่อก​ ารเ​กิด​มะเรง็ ต​ บั ผู้ท​ ี่ช​ อบร​ ับป​ ระทานอ​ าหารท​ ี่ม​ ีไ​ขม​ ันส​ ูงเ​ป็นป​ ระจำจ​ ะเ​สี่ยงต​ ่อก​ ารเ​ป็น​
มะเรง็ ​ลำไส้ เตา้ ​นม ต่อมล​ ูกห​ มาก และม​ ดลูก ผู้ท​ ี่ม​ ี​พฤติกรรม​การบ​ ริโภคอ​ าห​ า​รสุกๆ ดิบๆ ที่​อาจม​ ี​พยาธิใ​บไม้ต​ ับ​ปน​
อยู่ จะ​เสี่ยง​ต่อ​การ​เป็น​มะเร็ง​ของ​ถุง​น้ำดี​ใน​ตับ ผู้​ที่​ชอบ​รับ​ประทาน​อาหาร​เค็ม​จัด​หรือ​อาหาร​ที่​มี​ส่วน​ไหม้​เกรียม​ของ​
อาหารป​ ิ้งย​ ่างร​ มค​ วัน อาหารท​ ี่ถ​ นอมด​ ้วยเ​กลือด​ ินป​ ระส​ ิว จะเ​สี่ยงต​ ่อก​ ารเ​ป็น มะเรง็ ก​ ระเพาะอ​ าหาร หลอดอาหาร และ​
ลำไส้ใหญ่ การ​บริโภค​อาหาร​ที่​มี​สาร​พิษ​ปน​เปื้อน​อยู่ ร่างกาย​จะ​ได้การ​รับ​สาร​พิษ​จาก​อาหาร​ใน​ปริมาณ​ครั้ง​ละ​น้อยๆ
แล้วไป​สะสม​อยู่​ใน​ร่างกาย เมื่อ​มี​ปริมาณ​มาก​พอ​จึง​ค่อย​ออก​อาการ ลักษณะ​พิษ​สะสม​จึง​เป็น​ลักษณะ​ที่​น่า​พึง​ระวัง​
อย่าง​ยิ่ง โดย​เฉพาะ​การบ​ ริโภค​อาหาร​ซึ่งเ​ป็นการ​รับส​ ารพ​ ิษ​ไปส​ ะสม​ใน​ร่างกายท​ ี​ละน​ ้อย โดยที่​ผู้​บริโภค​เองไ​ม่​ระวัง​ตัว​
กว่า​จะร​ ู้ว​ ่าม​ ีส​ าร​พิษ​สะสม​ก็ก​ ลาย​เป็นโ​รค​ต่างๆ เช่น มะเร็ง เป็นต้น ผู้​บริโภค​จึง​ควรร​ ะวังส​ าร​พิษ​เหล่า​นี้​อย่าง​มาก หาก​
ทำได้​ควรล​ ะเว้น​อาหาร​ที่​อาจ​มี​สาร​พิษเ​หล่า​นี้ป​ ะปน

สารพ​ ิษใ​น​อาหาร​ที่​ก่อใ​ห​้เกดิ โ​รคม​ ะเร็ง

       สารพิษในอาหารที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง มี​หลาย​ชนิด​ทั้ง​จาก​ตัว​อาหาร​เอง​และ​จาก​ที่​มนุษย์​ตั้งใจ​ใส่​ลง​ไป​ใน​
ตลอดห​ ่วง​โซ่ใ​นก​ าร​ผลิตอ​ าหาร​เพื่อก​ ารบ​ ริโภค สารท​ ี่​ก่อใ​ห้​เกิด​โรคม​ ะเร็ง​มี ดังนี้

       1. 	 สา​รอะฟล​ า​ทอก​ซนิ ผลิตภัณฑ์แ​ ปรรูปท​ ุกช​ นิดท​ ี่ผ​ ลิตจ​ ากว​ ัตถุดิบท​ ี่ม​ ีก​ ารป​ นเ​ปื้อนส​ าร​ พิษ​ อะฟล​ าท​ อกซ​ ิน​
ที่​ผลิต​โดยเ​ชื้อร​ าแอส​เพ​อร์จ​ ิลลัส ฟล​ าว​ ัส (A.flavus) โดย​เฉพาะผ​ ลิตผล​ทางการเ​กษตร เช่น ถั่วล​ ิสง กุ้งแห้ง หัวห​ อม
กระเทียม พริก​แห้ง ข้าวโพด ข้าว ลูกเ​ดือย เมล็ดท​ านตะวัน ปลา​แห้ง เครื่อง​เทศ สมุนไพร ถั่วช​ นิดต​ ่างๆ และ​กาแฟ ที่ม​ ี​
ความชื้น​สูงม​ ากกว่า​ร้อย​ละ 7 จะม​ ี​เชื้อร​ า​แอส​เพ​อร์​จิลลัส ฟล​ า​วัส​ปนเ​ปื้อน​อยู่​ด้วย ตัวการ​ที่​ทำให้เ​กิด​มะเร็งไ​ม่ใช่เ​ชื้อร​ า​
แต่เ​ป็น​สา​รพิษ​ อะฟ​ลา​ทอกซ​ ิน​ ที่เ​ชื้อร​ า​สร้าง​ขึ้น สาร​พิษ​นี้ท​ น​ความร​ ้อนส​ ูง​ถ้าค​ วาม​ร้อน 263 องศาเ​ซลเซียส สาร​พิษ​ตัว​นี​้
ยังค​ งอ​ ยูใ​่ นส​ ภาพเ​ดมิ การห​ งุ ต​ ้มอ​ าหารต​ ามป​ กตไ​ิ มส่​ ามารถท​ ำลายส​ ารพ​ ษิ ใ​หห้​ มดไ​ปไ​ด้ ดงั น​ ัน้ ถา้ เ​ปน็ อ​ าหารแ​ หง้ ท​ ีจ่​ ะน​ ำ​
มาบร​ ิโ​ภคห​ รือเ​ป็นว​ ัตถุดิบใ​นก​ ารท​ ำผ​ ลิตภัณฑช์​ นิดอ​ ื่น จะต​ ้องเ​ก็บใ​หแ้​ ห้งอ​ าจต​ ากแ​ ดดห​ รืออ​ บแ​ ห้งแ​ ละต​ ้องม​ ีค​ วามชื้น​
น้อยก​ ว่า​ร้อยล​ ะ 12 เพื่อไ​ม่ใ​ห้​เชื้อร​ าแ​ อส​ เ​พอร์จ​ ิลลัส ฟ​ลาว​ ัสป​ น​เปื้อน​หรือ​เจริญ​เติบโตใ​น​อาหาร​ได้

ลิขสทิ ธิ์ของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216