Page 208 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 208

13-12 อาหารแ​ ละโ​ภชน​บำบัด

​เม็ดเ​ลือด​ขาว​สูงผ​ ิด​ปกติก​ รณีท​ ี่เ​ป็น​โรคม​ ะเร็งเ​ม็ด​เลือด​ขาว หรือ​อาจ​ตรวจ​เลือด​เพื่อ​วิเคราะห์ห​ น้าที่​การท​ ำงานข​ อง​ตับ​
หรือ ไต ซึ่งอ​ าจพ​ บค​ วาม​ผิดป​ กติ​ได้ก​ รณี​ที่เ​ป็นโ​รคม​ ะเร็ง​ตับ​หรือ ไต หรือเ​ป็นโ​รค​มะเร็งก​ ระจาย​ที่​ตับห​ รือไ​ต

       นอกจาก​นี้แ​ ล้วย​ ังอ​ าจต​ รวจ​เลือด​เพื่อต​ รวจห​ าส​ ารบ​ ่งช​ ี้​โรค​มะเร็ง (tumor marker) พบ​ว่า ในผ​ ู้​ป่วยบ​ างร​ าย​
อาจ​มี​ค่า​เหล่า​นี้​สูง​ขึ้น​กว่า​ปกติ​ได้ ซึ่ง​อาจ​ใช้​ประโยชน์​ใน​การ​ตรวจ​ติดตาม​หลัง​การ​รักษา​เพื่อ​ดู​ผล​การ​ตอบ​สนอง​ต่อ​
การร​ ักษา

       การ​ตรวจ​อุจจาระ ปัสสาวะ อาจ​พบ​เม็ด​เลือด​แดง​หรือ​พบ​เซลล์​ผิด​ปกติ​ได้​ใน​กรณี​ที่​เป็น​โรค​มะเร็ง​ทาง​เดิน​
อาหาร หรือ​โรคม​ ะเร็งท​ างเ​ดิน​ปัสสาวะ​ตาม​ลำดับ

       2.4 		การต​ รวจเ​อก็ ซเรย์ เป็นการต​ รวจเ​พื่อค​ น้ หาก​ ้อน ดร​ู ายล​ ะเอยี ด ขอบเขตข​ องก​ อ้ น รวมถ​ ึง การแ​ พรก่​ ระจาย​
ของโ​รค ซึ่งส​ ามารถต​ รวจไ​ด้ห​ ลายว​ ิธี เช่น เอ็กซเรย์​ธรรมดา อัลตร​ ้าซ​ าวด์ เอ็กซเรย์​คอมพิวเตอร์ (CT scan) เอ็ม​ อาร์ไ​อ
(Magnetic resonance imaging, MRI) การ​ตรวจท​ างเ​วชศาสตร์น​ ิวเคลียร์ (PET scan หมาย​ถึง การ​สแกนก​ ระดูก)
เป็นต้น แพทย์จ​ ะ​เลือก​วิธีต​ รวจ​ตาม​ความ​เหมาะ​สม​สำหรับผ​ ู้​ป่วย​แต่ละร​ าย

       2.5 		การ​ตรวจช​ ิ้น​เนอื้ เป็น​วิธี​เดียวท​ ี่จ​ ะร​ ู้ไ​ด้ว​ ่า​ก้อนน​ ั้น​มะเร็งห​ รือ​ไม่ แพทย์​ทำการ​ใช้เ​ข็มเ​จาะ หรือ​ผ่า​เอาก​ ้อน​
นั้นไ​ปต​ รวจเ​นื้อเ​พื่อด​ ูล​ ักษณะข​ องเ​ซลล์ว​ ่าเ​ป็นเ​ซลล์ม​ ะเร็งห​ รือไ​ม่แ​ ละเ​ป็นม​ ะเร็งช​ นิดใ​ด วิธีน​ ี้เ​รียกว​ ่า เป็นการต​ รวจท​ าง​
พยาธิ​วิทยาซ​ ึ่ง​ต้องใ​ช้​เวลา​ประมาณ 1-2 สัปดาห์​ขึ้น​ไป

       หลังจ​ ากต​ รวจว​ ินิจฉัยไ​ดแ้​ น่นน​ อนแ​ ล้วว​ ่า ผูป้​ ่วยเ​ป็นโ​รคม​ ะเร็งแ​ พทยก์​ จ็​ ะท​ ำการจ​ ัดร​ ะยะว​ ่า ผูป้​ ่วยน​ ั้นเ​ป็นโ​รค​
มะเร็งร​ ะยะ​ใด เพื่อว​ างแผนใ​น​การ​รักษาโ​รค นอกจาก​นี้​ระยะ​ของ​โรคใ​น​มะเร็งแ​ ต่ละ​ชนิด​ก็​ยังบ​ อก​พยากรณ์โ​รค​มะเร็ง​
นั้นไ​ด้อ​ ีกด​ ้วย โดยท​ ั่วไปโ​รคม​ ะเร็งแ​ บ่งเ​ป็น 4 ระยะ คือ

            ระยะท​ ี่ 1 โรคม​ ะเร็งย​ ังอ​ ยู่ภ​ ายใน​อวัยวะ​ที่​เป็น มี​ก้อน​ขนาดเ​ล็ก
            ระยะท​ ี่ 2 โรคม​ ะเร็ง​มีก​ ้อนข​ นาด​ใหญ่​ขึ้น​หรือ​กระจาย​ไปย​ ังต​ ่อม​น้ำ​เหลืองบ​ ริเวณใ​กล้​เคียง
            ระยะท​ ี่ 3 โรคม​ ะเร็ง​แทรกแซง​ไปย​ ัง​อวัยวะ​ข้างเ​คียง หรือ​กระจายไ​ป​ต่อม​น้ำเ​หลือง​บริเวณ​ไกล​ขึ้น
            ระยะท​ ี่ 4 โรคม​ ะเร็ง​กระจาย​ไป​ยัง​อวัยวะอ​ ื่นๆ
       โรคม​ ะเร็งแ​ ต่ละช​ นิด​อาจ​มี​เกณฑ์ก​ าร​จัด​แบ่ง​ระยะท​ ี่​แตก​ต่างก​ ันไ​ป​บ้าง แต่ร​ ะยะ​ที่ 1 และ 4 มักจ​ ะ​เหมือน​กัน
       โรคม​ ะเร็ง​ระยะ​ที่ 1 เป็น​ระยะแ​ รก​เริ่ม​สามารถร​ ักษา​ให้​หายขาด​ได้ ดังน​ ั้น ถ้าส​ ังเกตพ​ บอ​ าการผ​ ิด​ปกติท​ ี่​ชวน​
สงสัย​ว่า จะ​เป็น​มะเร็งก​ ็​ควรจ​ ะร​ ีบไ​ป​พบ​แพทย์ เพื่อ​การ​ตรวจร​ ักษา
       สัญญาณอ​ นั ตรายท​ ่​ีชวนส​ งสัย​เป็นโ​รค​มะเร็ง
            1) 	การ​มีต​ ุ่ม​ก้อน​ตาม​ร่างกาย
            2) 	การเ​ปลี่ยนแปลง​ของห​ ูด ไฝ หรือ ปาน เช่น โต​เร็ว มี​สีด​ ำ​ขึ้น หรือ​แตก​เป็น​แผล
            3) 	การ​มี​แผล​เรื้อรัง
            4) 	เสียงแ​ หบ ไอเ​รื้อรัง ไอ​เสมหะป​ น​เลือด
            5) 	กลืน​ลำบาก ท้องอ​ ืดเ​ป็นๆ หายๆ
            6) 	ขับ​ถ่าย​อุจจาระห​ รือปัสสาวะผ​ ิด​ปกติ เช่น ท้องผ​ ูก​สลับ​ท้อง​เสีย ขับถ​ ่าย​มีเ​ลือด​ปน
            7) 	มีเ​ลือด หรือ​น้ำ​เหลือง​ออก ผิด​ปกติ เช่น ตกขาวม​ ี​กลิ่น​เหม็น มี​เลือดป​ น
            8) 	น้ำห​ นัก​ลด อ่อนเพลีย​โดยไ​ม่​ทราบส​ าเหตุ

                             ลขิ สิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213