Page 236 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 236
15-2 อาหารแ ละโภชนบำบัด
แผนการสอนป ระจำห นว่ ย
ชุดวชิ า อาหารและโภชนบำบัด
หนว่ ยที่ 15 การติดตามภาวะโภชนาการ
ตอนท ่ี
15.1 การให้ค ำปรึกษาด้านอาหารแ ละโภชนบ ำบัด
15.2 การประเมินและการติดตามภาวะโภชนาการ
15.3 การประเมินทางคลินิก
แนวคิด
1. ก ารให้คำปรึกษาด้านอาหารและโภชนบำบัดมีความสำคัญต่อการช่วยให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมก ารบ ริโภคอ าหารให้เหมาะส มด ้วยต นเอง การด ำเนินง านต ้องม ีก ารว างแผนอ ย่างต ่อเนื่องต าม
กระบวนการให้ค วามรู้และค ำปรึกษา การป รับเปลี่ยนพฤติกรรมข องผู้ป ่วยเกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค ่อยไป
ทั้งนี้ นักก ำหนดอ าหารจ ำเป็นต ้องส ร้างส ัมพันธภาพท ีด่ กี ับผ ูป้ ่วย จึงจ ะเกิดก ารย อมรับ เกิดค วามไว้ว างใจ
และยอมป รับเปลี่ยนพฤติกรรม
2. การประเมินองค์ความรู้ของผู้รับคำปรึกษาเป็นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการให้คำปรึกษาด้านอาหารและ
โภชนบำบัด และเมื่อมีองค์ความรู้แล้ว ผู้ป่วยจะต้องนำลงสู่การปฏิบัติ ซึ่งนักโภชนาการจำเป็นต้องมี
การติดต ามภาะโภชนาการของผ ู้ป ่วยอย่างต ่อเนื่อง
3. ก ารประเมินทางคลินิก ได้แก่ การประเมินต ัวช ี้ว ัดทั่วไป และตัวช ี้วัดรายโรค การให้คำป รึกษาด ้านอาหาร
และโภชนบำบัดที่ดีจะช่วยให้โรคทุเลาขึ้น และส ามารถล ดโรคแทรกซ้อนได้
วัตถุประสงค์
เมื่อศึกษาห น่วยที่ 15 จบแ ล้ว นักศึกษาส ามารถ
1. อธิบายก ารให้คำปรึกษาด ้านอาหารและโภชนบำบัดได้
2. อธิบายการป ระเมินและก ารติดตามภาวะโภชนาการ ได้
3. อธิบายการประเมินทางคลินิกได้
กิจกรรมร ะหวา่ งเรียน
1. ทำแ บบประเมินผลต นเองก ่อนเรียนหน่วยท ี่ 15
2. ศึกษาเอกสารการสอนตอนที่ 15.1-15.3
3. ปฏิบัติก ิจกรรมตามท ี่ได้รับมอบห มายในเอกสารก ารสอน
4. ฟังร ายการวิทยุกระจายเสียง/ซีดีเสียงป ระจำช ุดวิชา
ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช