Page 239 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 239
การต ิดตามภ าวะโภชนาการ 15-5
เร่อื งที่ 15.1.1
หลกั ก ารใหค้ ำป รกึ ษาด้านอ าหารและโภชนบ ำบัด
การรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการเป็นปัจจัยพื้นฐานต่อการมีสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ
โภชนาการมีความสำคัญอย่างยิ่งในการบำบัดรักษาโรค ทั้งในการรักษาโรคให้หายขาด การบรรเทาความรุนแรงของ
โรค และการส นับสนุนการร ักษาโรคบางโรคให้สัมฤทธิผล
การเปลี่ยนแปลงวิถีก ารด ำเนินช ีวิตป ระจำว ัน ซึ่งม ีปัจจัยจ ากการเปลี่ยนแปลงของภ าวะเศรษฐกิจแ ละสังคม
และข ้อมูลข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงเหล่าน ี้ม ีผ ลกร ะท บต ่อพ ฤติกรรมการบ ริโภคอ าหารข องบ ุคคล ทำให้ป ระสบป ัญหา
ทั้งโรคข าดส ารอ าหารช นิดต ่างๆ โรคข าดโปรตีนแ ละพ ลังงาน ปัญหาโภชนาการเกิน ตลอดจ นค วามป ลอดภัยข องอ าหาร
จากก ารป นเปื้อนต ่างๆ พฤติกรรมก ารบ ริโภคอ าหารที่ไม่ถูกต้องม ีแนวโน้มจ ะสูงข ึ้น โดยเฉพาะปัญหาโภชนาการเกิน
จากโรคเรื้อรังท ี่เกิดจากอ าหาร เช่น โรคอ้วน ภาวะค วามผิดปกติของไขม ันในเลือด โรคหัวใจข าดเลือด โรคเบาห วาน
โรคค วามด ันโลหิตส ูง โรคไตเรื้อรัง และโรคม ะเร็ง ซึ่งเป็นป ัญหาส ุขภาพท ี่ทำให้เกิดก ารเจ็บป ่วยแ ละเสียช ีวิตก ่อนเวลา
อันควร
ปัจจุบันประชาชนมีความตื่นตัวและให้ความสนใจเรื่องของอาหารการกินและโภชนาการต่อสุขภาพมากขึ้น
ทั้งในแง่ของการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและรักษาโรค สิ่งเหล่านี้เป็นที่มาของความต้องการและความจำเป็น
ของการให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการ การรณรงค์ให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการเพื่อให้มีการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและรับประทานที่ถูกหลักโภชนาการอย่างสม่ำเสมอ จะช่วยลดปัญหาการ
เกิดโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องก ับโภชนาการได้
การรักษาผู้ป่วยที่มีปัญหาโภชนาการโดยเฉพาะปัญหาโภชนาการเกินจากโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับอาหาร
มักประกอบด ้วย
1) การให้โภชนบำบัด
2) การป รับเปลี่ยนพฤติกรรม
3) การใช้ย า
4) การอ อกก ำลังก าย
5) การให้ค วามรู้แ ละคำป รึกษาด ้านโภชนาการ
1. ความส ำคญั ของการใหค้ วามรคู้ ำปรกึ ษาดา้ นอ าหารและโภชนบ ำบดั
การให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการแก่ผู้ป่วยจึงเป็นสิ่งจำเป็น และเป็นงานที่สำคัญส่วนหนึ่งในการ
วางแผนก ารด แู ลด า้ นโภชนบ ำบดั แ กผ่ ปู้ ว่ ยท เี่ ขา้ ร บั ก ารร กั ษาในโรงพ ยาบาล ปจั จบุ นั ช ว่ งเวลาในก ารร กั ษาในโรงพ ยาบาล
จะส ั้นลง ทำให้โอกาสที่ผู้ป ่วยจะเรียนร ู้แ ละเข้าใจเรื่องของอาหาร โดยเฉพาะอ าหารบ ำบัดโรคมีน ้อยลง การให้บ ริการ
ติดตามให้ความรู้และคำปรึกษาด้านโภชนาการอย่างต่อเนื่องแก่ผู้ป่วยหลังจากผู้ป่วยกลับบ้านแล้ว จึงยังคงมีความ
จำเป็นแ ละมีความส ำคัญม ากข ึ้น
ผู้บริหารงานโภชนาการในโรงพยาบาลควรได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้ความรู้ และคำปรึกษาด้าน
โภชนาการแก่ผ ู้ป่วย โดยการก ำหนดนโยบาย (policies) ระบบ (systems) กระบวนการ (processes) และข ั้นต อน
การท ำงาน (procedures) เพื่อให้การบ ริการในก ารใหค้ วามร ูแ้ ละค ำป รึกษาด ้านโภชนาการแ กผ่ ูป้ ่วยท ีถ่ ูกต ้องเหมาะส ม
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช